270 likes | 508 Views
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ส่วนราชการระดับกรม. PMQA. Public Sector Management Quality Award. หัวข้อการนำเสนอ. 1. ภาพรวมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ 2553
E N D
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553ส่วนราชการระดับกรม PMQA Public Sector Management Quality Award
หัวข้อการนำเสนอ 1. ภาพรวมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ 2553 3. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน(FL) 4. ตัวชี้วัดผลลัพธ์หมวด 6 (การจัดการกระบวนการ) 5. สรุป
1. ภาพรวมการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
PMQA Model TQM : Framework P.ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
หลักคิด : 11 Core Values 1 5 การนำองค์การ อย่างมีวิสัยทัศน์ การมุ่งเน้นอนาคต 2 9 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม 6 การจัดการโดยใช้ ข้อมูลจริง ความคล่องตัว 10 3 การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า 7 การให้ความสำคัญกับ พนักงานและคู่ค้า การเรียนรู้ของ องค์การและแต่ละบุคคล 4 8 11 ความเป็นเลิศ ที่มุ่งเน้นที่ลูกค้า การจัดการเพื่อ นวัตกรรม มุมมองเชิงระบบ
2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
Roadmap การพัฒนาองค์การ 2553 2552 2554 1 1 2 3 6 กรมด้านบริการ 5 6 4 • เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 1 1 4 2 กรมด้านนโยบาย 5 4 6 • เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ
เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล PMQA “รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมวด ........” 100 พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด 80 Successful Level ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ 10 9 8 7 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 6 5 4 3 2 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 1 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7
การกำหนดตัวชี้วัด PMQA ปี 2553 • มุ่งเน้นเพื่อผลักดันให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์การอย่างต่อเนื่อง โดยวัดความสำเร็จของการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานต่อไป • ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการ ส่วนราชการจะเลือกตัวชี้วัดที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการวัดความสำเร็จและสามารถสะท้อนผลการดำเนินงานของหมวดนั้น ๆ ได้อย่างแท้จริง แต่อย่างไรก็ตามยังเปิดโอกาสสำหรับส่วนราชการที่จะกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติมได้เอง เพื่อความสอดคล้องกับภารกิจบางประเภทที่มีลักษณะเฉพาะ และส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม
การกำหนดตัวชี้วัด PMQA ปี 2553 • กำหนดน้ำหนักเพื่อการ“ซ่อม” ซึ่งหมายถึง ค่าน้ำหนักคะแนนนี้จะใช้ตรวจประเมินในหมวดที่ดำเนินการไปแล้ว หากส่วนราชการใดไม่ผ่านเกณฑ์ฯ ในหมวดนั้น ๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ ดังกล่าว • ส่วนราชการควรให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบบริหารจัดการที่ดีแม้ในหมวดที่ส่วนราชการได้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ไปแล้วก็ตาม เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาระบบบริหารจัดการในขั้น Successful Level
ตัวชี้วัดที่ 15 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (น้ำหนัก ร้อยละ 20)
3. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level)
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) องค์ประกอบในการประเมิน ADLI Approach มีแนวทางที่ชัดเจน Deploymentมีการถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ Learning มีการเรียนรู้ ทบทวนและปรับปรุง Integration มีการบูรณาการ
L-เริ่มเกิดผล - มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง - มีการพัฒนา - มีความก้าวหน้า I- เริ่มบูรณาการกับ ระบบงานอื่นๆ โดยสรุป A มีแนวทาง / ระบบ D มีการนำไปใช้จริง
หมวด 6 กำหนดกระบวนการ การออกแบบกระบวนการ PM 1 ความต้องการผู้รับบริการ (หมวด 3) ข้อกำหนดที่สำคัญ PM 2 กฎหมาย กฎ ระเบียบ (OP) องค์ความรู้/IT ความต้องการผู้รับบริการ ออกแบบกระบวนการ ระยะเวลา/ค่าใช้จ่าย/ผลิตภาพ PM 3 เป้าหมายภารกิจ กำหนดตัวชี้วัดควบคุมกระบวนการ การจัดการกระบวนการ การจัดการกระบวนการสู่การปฏิบัติ มาตรฐานการปฏิบัติงาน ลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ ระบบภาวะฉุกเฉิน ป้องกันความผิดพลาด PM 4 PM 5 ปรับปรุงกระบวนการ สอดคล้องตาม OP PM6 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ PM6 นวัตกรรม
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (Process Management)
รหัส PM1 ส่วนราชการต้องกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากยุทธศาสตร์พันธกิจและความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของส่วนราชการ
รหัส PM2 ส่วนราชการต้องจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากความต้องการของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย และข้อกำหนดที่สำคัญที่ช่วยวัดผลการดำเนินงาน และ/หรือปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า
รหัส PM3 ส่วนราชการต้องออกแบบกระบวนการจากข้อกำหนดที่สำคัญใน PM 2 และนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่สำคัญมาประกอบการออกแบบกระบวนการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง
รหัส PM4 ส่วนราชการต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อการจัดการกระบวนการเพื่อให้ส่วนราชการจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง
รหัส PM5 ส่วนราชการต้องกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุน โดยมีวิธีการในการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานดังกล่าวให้บุคลากรนำไปปฏิบัติเพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนดที่สำคัญ
รหัส PM6 ส่วนราชการต้องมีการปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน เพื่อให้ผลการดำเนินการดีขึ้นและป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดการทำงานซ้ำ และความสูญเสียจากผลการดำเนินการ
ข้อแนะนำการดำเนินการ หมวด 6
4. ตัวชี้วัดผลลัพธ์ หมวด6 (การจัดการกระบวนการ)
ตัวชี้วัดผลลัพธ์หมวด 6 (กพร.กำหนด) 1. ร้อยละควมพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อขั้นตอนการปฏิบัติงาน 2. ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อระบบรองรับภาวะฉุกเฉิน 3. ร้อยละของกระบวนการสร้างคุณค่าที่มีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน ( Work Manual ) 4. ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรฐานงานของกระบวนการสร้างคุณค่า 5. จำนวนกระบวนการที่ได้รับการปรับปรุงให้ผลการดำเนินงานดีขึ้น
ตัวชี้วัดแผนพัฒนาองค์การหมวด 6 การจัดการกระบวนการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
5. สรุป 1. ตอบคำถามหมวด P(ลักษณะสำคัญขององค์กร) ข้อ 14 2. ดำเนินการตามเกณฑ์ FL PM1-PM6 (ตัวชี้วัดที่ 15.1.1) 3. ตัวชี้วัดผลลัพธ์ความสำเร็จในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ (ตัวชี้วัด 15.1.2) 4. ประเมินตนเองตามโปรแกรมคำนวณ (ตัวชี้วัด 15.3.2) 5. รายงานผล 6 เดือน, รายงานผล 12 เดือน