980 likes | 1.94k Views
อาหารการกิน ป้องกัน ควบคุม โรคหัวใจและหลอดเลือด. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วันทนีย์ เกรียงสินยศ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล. การแถลงข่าวและรณรงค์ “ วันหัวใจโลก ” ปี 2553 วัน พฤหัสบดี ที่ 23 กันย ายน 2553 ณ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข จ. นนทบุรี.
E N D
อาหารการกิน ป้องกัน ควบคุม โรคหัวใจและหลอดเลือด ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วันทนีย์ เกรียงสินยศ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล การแถลงข่าวและรณรงค์ “วันหัวใจโลก” ปี 2553 วันพฤหัสบดีที่ 23 กันยายน 2553 ณ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข จ. นนทบุรี
โรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใจตีบโรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใจตีบ • มีการสะสมของสารต่างๆหลายชนิดบนผนังหลอดเลือดทำให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจตีบตันหัวใจเกิดอาการขาดเลือด กล้ามเนื้อหัวใจตาย • สารที่เกิดการสะสมมากที่สุดก็คือไขมัน และคอเลสเตอรอล
ปัจจัยเสี่ยงการเป็นโรคหัวใจปัจจัยเสี่ยงการเป็นโรคหัวใจ • กรรมพันธุ์ • ชายอายุมากกว่า 45 ปี หญิงอายุมากกว่า 55 ปี • สูบบุหรี่ • ความดันโลหิตสูง • ระดับคอเลสเตอรอลในเลือดสูง • อ้วน / น้ำหนักเกิน • เบาหวาน • ขาดการออกกำลังกาย • ความเครียด
ไขมันในเลือด • คอเลสเตอรอล: เป็นส่วนประกอบของเซลต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเซลสมอง แต่หากมีไขมันคอเลสเตอรอลมากเกินไป ไขมันเหล่านี้จะไปสะสมอยู่ตามผนังหลอดเลือดแดงทั่วร่างกาย ทำให้เกิดการตีบ ตัน ของหลอดเลือดได้ • ไตรกลีเซอไรด์: เป็นแหล่งพลังงานสำคัญของร่างกาย โดยอาหารพวกแป้งและน้ำตาล รวมทั้งโปรตีนที่เหลือใช้ จะถูกเปลี่ยนเป็นไตรกลีเซอไรด์
คอเลสเตอรอล ชนิดร้าย คอเลสเตอรอล ชนิดดี ( LDL ) ( HDL ) คอเลสเตอรอลในเลือด คอเลสเตอรอล ชนิดร้าย หรือ แอล-ดี-แอล (Low Density Lipoprotein Cholesterol, LDL-C) เป็นตัวที่มีบทบาทสำคัญในการสะสมในผนัง ของหลอดเลือดแดง ไขมันชนิดนี้ร่างกาย สร้างขึ้นจากอาหารที่มีไขมันสูง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งไขมันอิ่มตัว คอเลสเตอรอล ชนิดดี หรือ เอช-ดี-แอล (High Density Lipoprotein Cholesterol, HDL-C) ไขมันขนิดนี้จะช่วยในการขนถ่าย คอเลสเตอรอลที่สะสมอยู่ออกมาทำลาย จึงช่วยป้องกันโรคหัวใจขาดเลือด สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ระดับไขมันในเลือดที่ผิดปกติระดับไขมันในเลือดที่ผิดปกติ • คอเลสเตอรอลในเลือดสูงเกินกว่า 200 มก/ดล - คอเลสเตอรอลชนิดร้าย หรือ แอล-ดี-แอล ≥ 130 มก/ดล - คอเลสเตอรอลชนิดดี หรือ เอช-ดี-แอล ≤ 50 มก/ดล • ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูงเกินกว่า 150 มก/ดล
คอเลสเตอรอลในเลือดมาจากไหนคอเลสเตอรอลในเลือดมาจากไหน • ~2/3 ของไขมันในเลือดได้มาจากการสร้างที่ตับ ซึ่งสร้างมาจากจากไขมันอิ่มตัว [saturated fat ] ที่เรากินเข้าไป • ~1/3 ได้จากการกินอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
โปรตีน (เนื้อสัตว์) 10-15 % คาร์โบไฮเดรต (ข้าว แป้ง) เกลือแร่ & วิตามิน (ผัก ผลไม้) + 55-65 % 25-35 % ไขมัน สัดส่วนของพลังงานจากอาหาร โดยทั่วไปร่างกายต้องการพลังงานวันละ 1600 – 2400 กิโลแคลอรี ควรได้พลังงานจากไขมัน 480 – 720 กิโลแคลอรี คิดเป็นไขมันประมาณ 53 – 80 กรัม สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ไขมัน 25 – 35 % • แหล่งของไขมัน • เนื้อสัตว์ • น้ำมันปรุงอาหาร • อาหารที่มีเนย / กะทิ เป็นส่วนประกอบมาก ไขมันประมาณ 53 – 80 กรัม ควรกินเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ประมาณ 10 – 12 ช้อนโต๊ะ และใช้น้ำมันในการประกอบอาหาร ประมาณ 2 – 3 ช้อนโต๊ะ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ชนิดเนื้อสัตว์ ปริมาณ-กรัม ชนิดเนื้อสัตว์ ปริมาณ-กรัม ไก่-อก ไม่มีหนัง 30 (2 ช.ต.) เลือดไก่ 40 (3 ช.ต.) หมูเนื้อแดง* 30 (2 ช.ต.) เนื้อสะโพก น่อง* 30 (2 ช.ต.) ปลา (เนื้อล้วน) 30 (1 ตัวเล็ก) ปลาสลิดแห้ง 15 (1.5 ช.ต.) ปลาหมึกสด 30 (2 ช.ต.) ปลาหมึกแห้ง 10 (1.5 ช.ต.) กุ้ง (ขนาด 2 นิ้ว) 30 (4 ตัว) กุ้งแห้ง 15 (2.5 ช.ต.) หอยลาย 30 (10 ตัว) หอยนางรม 30 (6 ตัว ขนาดกลาง) ลูกชิ้น ไก่ หมู ปลา 55 (5-6 ลูก) ถั่วเมล็ดแห้งสุก 1/2 ถ้วยตวง ปลาทูน่ากระป๋อง (น้ำเกลือ) 1/2 ถ้วยตวง เนื้อสัตว์ไขมันต่ำ 1 ส่วน (ประมาณ 30 กรัม) มีโปรตีน 7 กรัม ไขมัน 3 กรัม พลังงาน 55 กิโลแคลอรี สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ชนิดเนื้อสัตว์ ปริมาณ-กรัม ชนิดเนื้อสัตว์ ปริมาณ-กรัม ไก่-อก ไม่มีหนัง 30 (2 ช.ต.) เลือดไก่ 40 (3 ช.ต.) หมูเนื้อแดง* 30 (2 ช.ต.) เนื้อสะโพก น่อง* 30 (2 ช.ต.) ปลา (เนื้อล้วน) 30 (1 ตัวเล็ก) ปลาสลิดแห้ง 15 (1.5 ช.ต.) ปลาหมึกสด 30 (2 ช.ต.) ปลาหมึกแห้ง 10 (1.5 ช.ต.) กุ้ง (ขนาด 2 นิ้ว) 30 (4 ตัว) กุ้งแห้ง 15 (2.5 ช.ต.) หอยลาย 30 (10 ตัว) หอยนางรม 30 (6 ตัว ขนาดกลาง) ลูกชิ้น ไก่ หมู ปลา 55 (5-6 ลูก) ถั่วเมล็ดแห้งสุก 1/2 ถ้วยตวง ปลาทูน่ากระป๋อง (น้ำเกลือ) 1/2 ถ้วยตวง เนื้อสัตว์ไขมันต่ำ 1 ส่วน (ประมาณ 30 กรัม) มีโปรตีน 7 กรัม ไขมัน 3 กรัม พลังงาน 55 กิโลแคลอรี สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ชนิดเนื้อสัตว์ ปริมาณ-กรัม ชนิดเนื้อสัตว์ ปริมาณ-กรัม หมูติดมันเล็กน้อย 30 (2 ชต) ซี่โครงหมูติดมันเล็กน้อย 30 ไก่ (เนื้อ) 30 (2 ช.ต.) ไข่ 50 (1 ฟอง) เป็ด (เนื้อ) 30 (2 ช.ต.) เต้าหู้เหลือง (แข็ง) 50(1/2 แผ่น) เนื้อปลาทอด 30 เต้าหู้อ่อน 120(3/4 หลอด) เนื้อสัตว์ไขมันปานกลาง 1 ส่วน (ประมาณ 30 กรัม) มีโปรตีน 7 กรัม ไขมัน 5 กรัม พลังงาน 75 กิโลแคลอรี สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ชนิดเนื้อสัตว์ ปริมาณ-กรัม ชนิดเนื้อสัตว์ ปริมาณ-กรัม ซี่โครงหมูติดมัน 30 หมูบดปนมัน 30 หมูปนมัน 30 กุนเชียง 30 หมู (ฮอทดอก) 30 ไส้กรอกอีสาน 30 หมูยอ 30 คอหมู 30 แฮม (ชนิดกลมมีไขมันปน) 30 ไก่ (เนื้อ, หนัง) 30 เป็ด (เนื้อ,หนัง) 30 เนื้อสัตว์ไขมันสูง 1 ส่วน (ประมาณ 30 กรัม) มีโปรตีน 7 กรัม ไขมัน 8 กรัม พลังงาน 100 กิโลแคลอรี สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
อาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูงอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ น้ำมันหมู สมอง เครื่องใน นม เนย ไข่แดง อาหารทะเล เช่น ปลาหมึก สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ปริมาณคอเลสเตอรอลเป็นมิลลิกรัมในอาหาร 100 กรัม สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ปริมาณคอเลสเตอรอลเป็นมิลลิกรัมในอาหาร 100 กรัม สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ไขมันในอาหาร • ไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว (monounsaturated) • ไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน (polyunsaturated) • ไขมันอิ่มตัว(saturated fatty acids) • ไขมันที่มีโครงสร้างเป็นทรานส์ (trans-fatty acids)
ไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยวไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว • มีส่วนในการลดลงของคอเลสเตอรอลชนิดร้าย (LDL) ได้ • ไม่มีผลกระทบต่อคอเลสเตอรอลชนิดดี (HDL) สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อนไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน • มีกรดไขมันที่จำเป็นต่อร่างกาย คือกรดไลโนเลอิก (linoleic acid) กรดไลโนเลนิค (linolenic acid) และกรดอะราคิโดนิก (arachidonic acid) • ช่วยลดปริมาณของคอเลสเตอรอลทั้งชนิดร้าย (LDL) และชนิดดี (HDL) • ไม่ควรนำไปปรุงอาหารในความร้อนสูง เช่น การทอด เพราะเกิดอนุมูลอิสระได้ง่าย
ไขมันที่เป็นผลเสียต่อร่างกายไขมันที่เป็นผลเสียต่อร่างกาย • ไขมันอิ่มตัว พบมากในอาหารไขมันที่มาจากสัตว์เช่นน้ำมันหมู ข้าวมันไก่ ข้าวขาหมู น้ำมันปาล์ม น้ำมันมะพร้าว กะทิ อาหารทอดทั้งหลายส่วนใหญ่จะทอดด้วยน้ำมันปาล์ม ดังนั้นจึงต้องเลี่ยงอาหารทอด สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ไขมันที่เป็นผลเสียต่อร่างกาย (ต่อ) • ไขมันที่มีโครงสร้างเป็นทรานส์ (ทำให้เกิดอุบัติการณ์ต่อโรคหัวใจเพิ่มขึ้น 53 %) ได้จากการนำเอาไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อนที่เป็นของเหลวมาผ่านกระบวนการไฮโดรจีเนชัน เพื่อป้องกันเหม็นหืนและทำให้อยู่ในรูปของแข็ง อาหารที่ใช้ส่วนประกอบของไขมันชนิดนี้คือ เนยเทียม อาหารที่อบหรือปิ้ง เช่นพวกขนมปัง คุกกี้ เค้ก สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
สัดส่วนในการบริโภคไขมันสัดส่วนในการบริโภคไขมัน • ไม่ควรบริโภคน้ำมันที่มีกรดไขมันชนิดหนึ่งชนิดใดมากเกินไป • ควรบริโภคไขมันไม่เกินร้อยละ 30 ของพลังงานทั้งหมดที่ได้รับ โดยให้ได้ไขมันอิ่มตัว ไขมันไม่อิ่มตัว เชิงเดี่ยว และไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน ในสัดส่วนพอ ๆ กัน คือ 10: 10: 10 สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
กินอย่างไรเพื่อลดคอเลสเตอรอลกินอย่างไรเพื่อลดคอเลสเตอรอล • ลดการกินอาหารที่มีไขมันสูง ให้ร่างกายได้รับพลังงานจากไขมันไม่เกินร้อยละ 30 • เลือกใช้น้ำมันให้ถูกต้อง คือมีกรดไขมันอิ่มตัวต่ำ แต่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง เช่น น้ำมันถั่วเหลือง, น้ำมันรำข้าว, น้ำมันข้าวโพด เป็นต้น • ลดการกินอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง ได้คอเลสเตอรอลจากอาหารไม่เกิน 300 มก/วัน สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
วิธีง่ายๆ ในการลดไขมันจากอาหาร • ระวังไม่กินอาหารประเภทเนื้อสัตว์มากเกินไป ถ้าเป็นไปได้เลือกกินปลาแทนเนื้อสัตว์ชนิดอื่น • หลีกเลี่ยงอาหารที่เห็นเป็นไขมันชัดเจน เช่นหมูสามชั้น หนังไก่ • หลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์แปรรูป จำพวกไส้กรอก หมูยอ • เลี่ยงอาหารทอดโดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารที่ชุบแป้งทอด สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
วิธีง่ายๆ ในการลดไขมันจากอาหาร (ต่อ) • ช้อนเอาไขมันที่ลอยเป็นฝ้าอยู่ด้านบนของแกงหรือซุปออกก่อนรับประทาน • ให้ดื่มนมที่พร่องมันเนยแทนนมสดหรือไอศครีม • หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำจากเนย เช่น เค้ก ขนมพาย • หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำจากไข่แดง และไขมันอิ่มตัว เช่นทองหยิบ ฝอยทอง • หลีกเลี่ยงเครื่องในสัตว์เช่น ตับ ไต สมอง สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
อาหารที่ช่วยลดคอเลสเตอรอลอาหารที่ช่วยลดคอเลสเตอรอล • ธัญพืช ผัก ผลไม้ อาหารกลุ่มนี้จะให้ใยอาหารกับร่างกาย ทำให้การดูดซึมคอเลสเตอรอลลดลงได้ ควรกินผัก ผลไม้ ไม่น้อยกว่า 5 – 6 ส่วน/วัน
คอเลสเตอรอล ชนิดร้าย คอเลสเตอรอล ชนิดดี ( LDL ) ( HDL ) ลดลงโดยการควบคุมอาหาร เพิ่มขึ้นโดยการออกกำลังกาย และลดน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
อาหาร & โรคความดันโลหิตสูง • อาหารลดเค็ม • อาหารแนว DASH สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
อาหารลดเค็ม • อาหารเค็มมีความสัมพันธ์กับการเป็น ความดันโลหิตสูง • คำว่า “เค็ม” ไม่ได้หมายถึงเกลือที่ใส่ในอาหารเท่านั้น แต่หมายถึง “โซเดียม” ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของเกลือแกงที่ให้รสเค็ม สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ร่างกายต้องการโซเดียมเท่าไรร่างกายต้องการโซเดียมเท่าไร ความต้องการสูงสุดของโซเดียม ที่ได้รับและไม่ ทำให้เกิดอันตราย คือ 2400 มก/วัน (คิดเป็นเกลือโซเดียมคลอไรด์ประมาณ 6 กรัม / วัน) Dietary Reference Intake for Thais, 2003 สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
แหล่งของโซเดียมในอาหารแหล่งของโซเดียมในอาหาร • อาหารธรรมชาติ • การปรุงแต่งรสชาติอาหาร โดยเฉพาะการเติม เครื่องปรุงรสจำพวก เกลือ น้ำปลา ซีอิ้ว • อาหารแปรรูป เช่น ผักดอง ไข่เค็ม ไส้กรอก หมูยอ • อาหารสำเร็จรูป เช่น บะหมี่สำเร็จรูป • ของขบเคี้ยว สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
สัดส่วนของโซเดียมที่ได้รับจากอาหารในคนไทยสัดส่วนของโซเดียมที่ได้รับจากอาหารในคนไทย เครื่องปรุงรสที่เติม เพิ่มบนโต๊ะอาหาร 11 % อาหารสด 18% เครื่องปรุงรสระหว่าง การประกอบอาหาร 71 % สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล (วีรวรรณ ลิ้มมานนท์, 2549)
อาหารที่มีโซเดียม • อาหารที่มีรสเค็มนำ: มีโซเดียมคลอไรด์ • อาหารที่ไม่มีรสเค็มนำ: - อาหารที่ใส่ผงชูรส (โมโนโซเดียมกลูตาเมท) - อาหารที่ใส่ผงฟู (โซเดียมไบคาร์บอเนต) - อาหารที่ใส่สารกันบูด (โซเดียมเบนโซเอต) สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
น้ำนม 1 ส่วน (240 มล) มี โปรตีน 8 กรัม คาร์โบไฮเดรต 12 กรัม ไขมัน 3–8 กรัม พลังงาน 90-150 กิโลแคลอรี โซเดียม ~ 120 มก สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ข้าวแป้ง 1 ส่วน มีคาร์โบไฮเดรต 18 กรัม โปรตีน 2 กรัม พลังงาน 80 กิโลแคลอรี โซเดียม ~20 มก โซเดียม ~95 มก โซเดียม ~130 มก สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ผัก 1 ส่วน คาร์โบไฮเดรต 5 กรัม โปรตีน 2 กรัม ให้พลังงาน 25 กิโลแคลอรี โซเดียม~2 มก สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ปริมาณโซเดียมใน ผักสด - ผักดอง สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ผลไม้ 1 ส่วน มีคาร์โบไฮเดรต 15 กรัม ให้พลังงาน 60 กิโลแคลอรี โซเดียม ~10-15 มก สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
เนื้อสัตว์ 1 ส่วน มีโปรตีน 7 กรัม ไขมัน 3-8 กรัม ให้พลังงาน 55-100 กิโลแคลอรี เนื้อหมูลวก 2 ช้อนโต๊ะ (30 ก) ~ 30 mg ไส้กรอกหมู 2 ชิ้น (30 ก) ~200 mg หมูยอ 2 ช้อนโต๊ะ (30 ก) ~230 mg สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ปริมาณโซเดียมในไข่ ไข่ต้ม 1 ฟอง (50 ก) โซเดียม ~ 90 mg ไข่เค็ม 1 ฟอง (50 ก) โซเดียม ~ 480 mg ไข่เจียว 1 ฟอง โซเดียม 440-590 mg สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ปริมาณโซเดียมในผลิตภัณฑ์เต้าหู้ปริมาณโซเดียมในผลิตภัณฑ์เต้าหู้ เต้าหู้ไข่ 1 หลอด (130 ก) โซเดียม ~48 mg เต้าหู้ทอด 30 ก โซเดียม ~290 mg เต้าหู้ยี้ 2 ก้อน (15 ก) โซเดียม ~ 660 mg สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
พฤติกรรมการบริโภคของคนไทยพฤติกรรมการบริโภคของคนไทย • บริโภคเครื่องปรุงรสทุกวันโดยเฉลี่ย 98 % ของ ประชากร • โดยเครื่องปรุงรสที่นิยมมากที่สุดคือน้ำปลา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. รายงานการสำรวจภาวะอาหารและ โภชนาการของประเทศไทย พ.ศ. 2529 และ 2538 สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
การบริโภคเครื่องปรุงรสของประชากรไทยการบริโภคเครื่องปรุงรสของประชากรไทย สถาบันวิจัยโภชนาการ รายงานโครงการบริโภคอาหารของคนไทย สนับสนุนงบประมาณโดย สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ มีนาคม 2549 สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
เกลือ... น้ำปลา... เตรื่องปรุงรส มีโซเดียมเท่าไร? เกลือ มีโซเดียมเป็นส่วนประกอบ 40% นั่นคือ เกลือ 1 ช้อนชา (ประมาณ 5 กรัม) มีโซเดียม 2 กรัมหรือ 2000 มิลลิกรัม สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
เครื่องปรุงรส สูตรปกติในท้องตลาด สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
พฤติกรรมการเติมเครื่องปรุงรสของคนไทยพฤติกรรมการเติมเครื่องปรุงรสของคนไทย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. รายงานการสำรวจภาวะอาหารและ โภชนาการของประเทศไทย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2546 สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ปริมาณโซเดียมในเครื่องปรุงรสบางชนิดปริมาณโซเดียมในเครื่องปรุงรสบางชนิด เกลือ 5 ถรัม โซเดียม 2000 มก ผงชูรส 5 กรัม โซเดียม 610 มก ผงปรุงรส 5 กรัม โซเดียม 815 มก ซุปก้อน 10 กรัม โซเดียม 1760 มก สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ส่วนประกอบของซุปก้อน สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ปริมาณโซเดียมในอาหารไทย (ต่อหน่วยบริโภค) มก. สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล