320 likes | 667 Views
ขั้นตอนการประเมินองค์กรด้วยตนเอง. มีความรู้ความเข้าใจในเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ. ขั้นตอนที่ 1 กำหนด ขอบเขต การประเมิน. ขั้นตอนที่ 5 ฝึกประเมิน องค์กร ด้วยตนเอง. ขั้นตอนที่ 2 กำหนดกลุ่ม ผู้ทำหน้าที่ ประเมิน. ขั้นตอนที่ 3 กำหนดแผน การประเมิน. ขั้นตอนที่ 4 จัดทำ
E N D
ขั้นตอนการประเมินองค์กรด้วยตนเองขั้นตอนการประเมินองค์กรด้วยตนเอง มีความรู้ความเข้าใจในเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ขั้นตอนที่ 1 กำหนด ขอบเขต การประเมิน ขั้นตอนที่ 5 ฝึกประเมิน องค์กร ด้วยตนเอง ขั้นตอนที่ 2 กำหนดกลุ่ม ผู้ทำหน้าที่ ประเมิน ขั้นตอนที่ 3 กำหนดแผน การประเมิน ขั้นตอนที่ 4 จัดทำ “ลักษณะสำคัญ ขององค์กร” ขั้นตอนที่ 10 ประเมิน และปรับปรุง กระบวนการ ขั้นตอนที่ 9 จัดทำแผน ปรับปรุงแก้ไข ตามลำดับ ความสำคัญ ขั้นตอนที่ 8 วิเคราะห์ โอกาสในการ ปรับปรุง และจัดลำดับ ขั้นตอนที่ 7 ดำเนินการ ประเมิน ขั้นตอนที่ 6 จัดตั้งทีมงาน ประเมิน ในแต่ละหัวข้อ ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขตามแผนการปรับปรุง
การนำองค์กรเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐการนำองค์กรเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA
การเตรียมความพร้อมขององค์กรการเตรียมความพร้อมขององค์กร 1
2 การกำหนดผู้รับผิดชอบ ผู้นำระดับสูง + คนรู้เนื้องาน (Steering Committee) ทีม ผู้มีพลัง (หนุ่มสาว) + คนรู้เนื้องาน (Working Team) องค์ประกอบ ผู้นำระดับสูง + คนรู้เนื้องาน (Improvement Team)
Steering Committee ผู้บริหารสูงสุด CEO ประธาน ผู้บริหารระดับรอง ผู้บริหารระดับรอง ผู้บริหารระดับรอง CCO รองประธาน หน้าที่: สนับสนุน Working Team ในการดำเนินการ จัดสรรทรัพยากรสำหรับดำเนินการตามแผนปรับปรุง และสื่อสารให้ทุกคนในองค์กรตระหนักถึงความสำคัญของการใช้เกณฑ์มาปรับปรุงองค์กร
Working Team< 20 คน รองประธานSteering Committee Category Champion 1…2.3 Category Champion 6 Members Members หน้าที่: ดำเนินการประเมินองค์กรด้วยตนเอง และเขียน Application Report ระบุจุดแข็ง โอกาสในการปรับปรุง และกำหนดแผนการปรับปรุง
จะจัดตั้งทีมงานอย่างไร?จะจัดตั้งทีมงานอย่างไร?
วงจรของทีมการปรับปรุงวงจรของทีมการปรับปรุง การสลายทีมงาน การจัดตั้งทีม TEAM DISSOLVES Formation การรักษาการปรับปรุง(อย่างต่อเนื่อง) Holding the gains การเตรียมทีม Preparation การเตรียมปิดโครงการ Completion ลงมือปฏิบัติ Execution • An optimal team should consists no more than 7 • Cross functional deployment should consists of key process owners to ensure ownership. • All improvement team should consists of champion and managed as project to project. • A life of an improvement team should not exceed its scope or original charter.
PMQA การประเมินองค์กรด้วยตนเอง(Three Tasks of Assessment) 3 • เรียนรู้องค์กร โดยใช้ลักษณะสำคัญขององค์กร (Organization Profile) • ประเมินผลกระบวนการ (หมวด 1-6) และผลลัพธ์ (หมวด 7) ขององค์กร ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • นำผลการประเมินเทียบกับแนวทางการให้คะแนน
ขั้นตอนการจัดทำรายงานขั้นตอนการจัดทำรายงาน 1. วางแผนโครงการ 2. รวบรวมข้อมูล 3. จัดทำร่างรายงาน 4. ทบทวนร่างและทดลองประเมินร่างรายงาน 5. ปรับปรุงร่างรายงาน 6. จัดทำข้อมูลและรายงานฉบับจริง 7. กรอกแบบฟอร์มต่าง ๆ และส่งรายงานเพื่อขอรับรางวัล
4 การหาจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุงของส่วนราชการ มิติ กระบวนการ มิติ ผลลัพธ์ • แนวทาง (Approach - A) • การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ (Deployment - D) • การเรียนรู้ (การทบทวนและปรับปรุง) (Learning - L) • การบูรณาการ (Integration - I) • ระดับ (Level - L) • แนวโน้ม (Trend - T) • สารสนเทศเชิงเปรียบเทียบ(Comparison - C) • ความสำคัญ (Key - K)
Knowledge Gaps Process Gaps Perception Information To Prioritize ทำความเข้าใจเกณฑ์ Data Gathering To Improve Strengths Re-write Confirm Draft Application Report Strengths GAPs OFI ขก ขข ขาดความเข้าใจเกณฑ์ ขาดข้อมูล
5 การจัดลำดับความสำคัญและดำเนินการปรับปรุง Tip ! Vital Few คืออะไร “Vital Few are the highest-Leverage opportunities for improving performance.”
The Affinity Diagram Method Step 1
The Affinity Diagram Method Step 2
กรอบแนวทางในการกำหนดแผนการปรับปรุงกรอบแนวทางในการกำหนดแผนการปรับปรุง จัดทำกระบวนการทำงานแบบใหม่(Developing a new process) ปรับปรุงกระบวนการทำงานที่มีอยู่(Improving an existing process) แก้ไขปัญหา (Solving a problem)
เครื่องมือบริหารจัดการ (Tools) หมวด 1 Change Management หมวด 2 Balanced Scorecard หมวด 3 Customer Relation Management หมวด 4 Benchmarking / Knowledge Management หมวด 5 Competency หมวด 6 Reengineering / 6sigma / KAIZEN หมวด 7 Management Cockpit
PMQA 6 การเตรียมตัวเพื่อเสนอขอรับรางวัล
The assessment-based improvement cycle Assessment • Assessment • Engaging the Leaders • Preparing the Assessment Team • Data Gathering • Developing the Assessment Report • Presenting the Assessment Report • Improvement • Developing ImprovementPlans • Implementation and Follow-Through • Closing the Loop Monitoring Planning Continuous Improvement Cumulative Gains Implementation
Advanced Self-assessment (SA) Implemented Tools Improvement Plan Advanced Self-assessment (SA) Implemented Tools Improvement Plan Implemented Tools Self-assessment (SA) Improvement Plan PMQA Strategic Planning KPI & BSC Benchmarking BPR / Risk Management ABM JIT TPM 6 Sigma ABC IE SM DOE COQ 7 Waste OEE SQC Problem Solving / 7 QC Tools Waste Assessment 5S. QCC Suggestion System Visual Control / / / ISO 9000 / Score (Maturity of Management system) Management Tools PMQA 700 Mature 500 User 300 Entry 100 Time
PMQA เตรียมตัวเพื่อเสนอขอรับรางวัล เตรียมตัว Site Visit Application Report
มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 50) มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ การให้บริการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) มิติที่ 4 ด้านการพัฒนา องค์กร (น้ำหนัก : ร้อยละ 30) การบริหารงบประมาณ การประหยัดพลังงาน การลดระยะเวลาการให้บริการ คุณภาพการให้บริการ การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ การจัดการความรู้ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ การบริหารการปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร การบริหารจัดการองค์กร การบริหารความเสี่ยง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารจัดการองค์กร
มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารจัดการองค์กร จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้เรี่องการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ระดับคะแนน 1
มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารจัดการองค์กร จัดตั้งคณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของส่วนราชการ และจัดทำแผนดำเนินการพร้อมกำหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละหมวด (Category Champion)ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พร้อมขออนุมัติแผนดำเนินการต่อผู้บังคับบัญชา ระดับคะแนน 2
มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารจัดการองค์กร จัดอบรมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการประเมินองค์กรด้วยตนเอง ระดับคะแนน 3
มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารจัดการองค์กร ความครบถ้วนของการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับคะแนน 4
มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารจัดการองค์กร ความครบถ้วนของการจัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนินการเบื้องต้น ระดับคะแนน 5
ประโยชน์และสิ่งที่กรมได้รับจากการดำเนินการตามตัวชี้วัดประโยชน์และสิ่งที่กรมได้รับจากการดำเนินการตามตัวชี้วัด เรียนรู้ระบบการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เอกสารรายงานผลการดำเนินการ(Application Report) เรียนรู้วิธีการเขียนเอกสารรายงานผลการดำเนินการ(Application Report) และสามารถแก้ไขเพิ่มเติม รายงานจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง (Strength and Opportunities for Improvement) รู้สภาพองค์กรในปัจจุบัน เรียนรู้วิธีกำหนดแผนการปรับปรุงภายใน แผนการปรับปรุง(Improvement Plan)
ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น