640 likes | 860 Views
ประชาคมอาเซียน : การปรับตัวของภาคข้าราชการไทยกลุ่มจังหวัดอ่าวไทย. นายชาญ วิทย์ ไกรฤกษ์ และ รศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี ดำเนินรายการโดย ดร . พิ สัณห์ นุ่นเกลี้ยง 21 ตุลาคม 2554. การก่อตั้งอาเซียน 1967 การประชุมสุดยอดบาหลี 1976 เวียดนามบุกยึดเขมร 1978
E N D
ประชาคมอาเซียน : การปรับตัวของภาคข้าราชการไทยกลุ่มจังหวัดอ่าวไทย นายชาญวิทย์ ไกรฤกษ์ และ รศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี ดำเนินรายการโดย ดร.พิสัณห์ นุ่นเกลี้ยง 21 ตุลาคม 2554
การก่อตั้งอาเซียน 1967 • การประชุมสุดยอดบาหลี 1976 • เวียดนามบุกยึดเขมร 1978 • อาเซียนในยุคหลังสงครามเย็น
Singapore Summit 1992 • AFTA , ARF • Bangkok Summit 1995 • SEANWFZ • SEA-10
อาเซียนในยุควิกฤติเศรษฐกิจ อาเซียนในยุควิกฤติเศรษฐกิจ • Initiate for ASEAN Integration (IAI) • Bali Summit 2003 • ASEAN Community by2020/2015
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
ASEAN Security Community Blueprint • Political Development • Shaping and Sharing of Norms • Conflict Prevention • Conflict Resolution • Peace Building
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ASEAN Economic Community Blueprint • Single Market and Production Base
Free flow of goods • Free flow of services • Free flow of investment (ASEAN Investment Area : AIA) • Freer flow of capital • Free flow of skilled labor
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม • ความยุติธรรมและสิทธิ • ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม • การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
ประชาคมอาเซียน ผลกระทบ และการปรับตัวของไทย
บทบาทในการตั้งรับ • การรวมกลุ่มประชาคมอาเซียนจะส่งผลให้เกิดความร่วมมือจะเพิ่มมากขึ้นในทุก ๆ ด้าน • การติดต่อระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ของประเทศสมาชิกอาเซียนจะเพิ่มมากขึ้น
เกือบทุกกระทรวง ทบวง กรม จะต้องเกี่ยวข้องกับเรื่องของอาเซียนมากยิ่งขึ้น จึงต้องมีการปรับตัวเพื่อให้ทันกับประเทศอาเซียนอื่น ๆ • ไทยต้องทำงานให้ทันกับประเทศอาเซียนอื่นๆ โดยต้องมีความรู้เพิ่มเติม และพื้นฐานการศึกษาความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการปฏิบัติงานต้องมีมาตรฐานเพียงพอ
ภาคส่วนต่าง ๆ จะเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น หน่วยงานของไทยต้องเปิดกว้างมากขึ้น • การกระจายความรู้พื้นฐานเรื่องอาเซียนมากขึ้น ซึ่งรวมถึงข้อตกลงที่สำคัญ ๆ รวมทั้งวิถีทางของอาเซียน หรือASEAN way
การศึกษาและให้ความรู้เกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านและประเทศสมาชิกอาเซียนควรมีมากขึ้น • การศึกษาและเรียนรู้ภาษาประเทศเพื่อนบ้านมากขึ้น
การปรับเปลี่ยนทัศนคติ และ mentalityต่อ • ประเทศเพื่อนบ้านให้เป็นเชิงบวกมากขึ้น • การสร้างคนรุ่นใหม่ที่ให้ความสำคัญกับประเทศเพื่อนบ้าน พร้อมมองประเทศเพื่อนบ้านในเชิงบวก ไม่ใช่ศัตรู
การศึกษาและเรียนรู้ภาษาอังกฤษในฐานะภาษากลางของอาเซียน • ไทยต้องรีบปรับปรุงประสิทธิภาพ • การเพิ่มจำนวนบุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับประชาคมอาเซียน
การพัฒนาและจัดฝึกอบรมในเรื่องเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนให้เป็นระบบ • การสร้างความมั่นใจเกี่ยวกับระดับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จำเป็นของบุคลากรที่มีหน้าที่โดยตรงในเรื่องอาเซียน
การเตรียมความพร้อมสำหรับบุคลากรกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในอาเซียน การเตรียมความพร้อมสำหรับบุคลากรกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในอาเซียน • การเพิ่มจำนวนและเครือข่ายวิทยากรที่สามารถให้ความรู้ในเรื่องอาเซียน
การเพิ่มทักษะความสามารถในการสื่อสาร และทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • การสร้างทักษะการเจรจา ต่อรอง และกระบวนการทางการทูต • การมีทักษะเฉพาะทาง เฉพาะตำแหน่งที่เชี่ยวชาญ
การต้องมีการปรับทัศนคติของไทยให้มอง • อาเซียนในเชิงบวก • การพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ สมรรถนะ และทัศนคติที่เป็นสากล • การที่บุคลากรต้องมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของไทย เพื่อสามารถเชื่อมโยงถึงความสำคัญของประชาคมอาเซียนต่อไทยได้
มีความรู้เกี่ยวกับการทำงานข้ามวัฒนธรรม (cross-cultural management) • การประสานงานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ • ภายในประเทศอย่างมียุทธศาสตร์และบูรณาการ • การจัดตั้งหน่วยงานที่รับผิดชอบเรื่องอาเซียนโดยตรงในหน่วยงานต่าง ๆ
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงประชาคมการเมืองและความมั่นคง
ผลกระทบ • ให้ความสำคัญกับ ประชาธิปไตย และสิทธิมนุษยชนมากขึ้น • สิทธิเสรีภาพของประชาชน จะได้รับการปกป้องดีขึ้น • จะมีข้อตกลงมากขึ้น • ความขัดแย้งจะลดลง เพราะอาเซียนจะมีกลไกป้องกันและแก้ไขความขัดแย้ง
การปรับตัว • การพัฒนาทางการเมือง สิทธิมนุษยชน : หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเพิ่มบทบาท ผลักดันความร่วมมือด้านสิทธิมนุษยชน • การพัฒนาบรรทัดฐาน : หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเตรียมพร้อมการจัดทำข้อตกลงระหว่างประเทศ • กลไกป้องกันและแก้ไขความขัดแย้ง : • หน่วยงานความมั่นคงต้องเตรียมพร้อม
ผลกระทบ • การเปิดเสรีการเคลื่อนย้ายสินค้า • สินค้าบางตัว ไทยได้เปรียบ • อุตสาหกรรมบางอุตสาหกรรมไทยเสียเปรียบ
สินค้าราคาถูกจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ข้าว • ภาพรวม : ไม่กระทบต่อไทยมากนัก เพราะมี AFTAอยู่แล้ว
การเปิดเสรีภาคบริการ • ไทยน่าจะแข่งขันได้ • ไทยน่าจะได้ประโยชน์มากกว่า เสียประโยชน์
การเปิดเสรีด้านการลงทุนและการเปิดเสรีด้านการลงทุนและ การเคลื่อนย้ายเงินทุน • ไทยน่าจะได้ประโยชน์ • โอกาสการลงทุนในประเทศอาเซียน
การเปิดเสรีแรงงานมีฝีมือการเปิดเสรีแรงงานมีฝีมือ • แพทย์ • นักบัญชี • วิศวกร • พยาบาล • สถาปนิก
โอกาสมากขึ้น แต่การแข่งขัน ก็มากขึ้นด้วย • ข้อจำกัดเรื่องภาษาอังกฤษ
การปรับตัว • กลุ่มที่ 1 : หน่วยงานด้านเศรษฐกิจ • ของไทย • กลุ่มที่ 2 : ภาคเอกชน • กลุ่มที่ 3 : ประชาชน
หน่วยงานเศรษฐกิจต้องศึกษาผลกระทบจากการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ • หน่วยงานเศรษฐกิจต้องให้ความรู้แก่ • ภาคเอกชน และภาคประชาชน ถึงผลกระทบ • ทั้งในเชิงบวก และในเชิงลบ • ต้องเตรียมมาตรการรองรับต่อผลกระทบ
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
ผลกระทบและการปรับตัว • ความร่วมมืออาเซียน กระจายไปเกือบทุกหน่วยงาน จึงมีหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • หน่วยงานไทยต้องปรับตัวเพื่อเตรียมความพร้อม • มากขึ้น • ต้องเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
บทบาทของไทย ในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน
บทบาทในเชิงรุก • การที่ไทยมีบทบาทในการผลักดันและเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน เพื่อช่วยทำให้ไทยกลับมามีบทบาทนำในอาเซียนอีกครั้ง • การผลักดันประเด็นต่าง ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อไทย
การที่ไทยเข้าไปมีบทบาทในการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน • การผลักดันให้อาเซียนเป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลางอย่างแท้จริง
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
ปัญหาด้านการเมืองความมั่นคงปัญหาด้านการเมืองความมั่นคง • ปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง • กรณีพิพาทเรื่องพรมแดน • ประเทศสมาชิกยังมีความไม่ไว้วางใจซึ่งกันและ กัน
ขาดความร่วมมือทางด้านการทหาร ขาดความร่วมมือทางด้านการทหาร • ยุทธศาสตร์ทหารมองเพื่อนบ้านเป็นศัตรู
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ปัญหาด้านเศรษฐกิจ • ช่องว่างระหว่างประเทศรวยและประเทศจน • ประเทศอาเซียนยังมองประเทศสมาชิก อื่นเป็นคู่แข่งทางเศรษฐกิจ
ปัญหาบูรณาการในเชิงลึก • ปัญหาบูรณาการในเชิงกว้าง • ปัญหาด้านโครงสร้าง • ปัญหาการทำให้ประชาคมอาเซียนเป็น ประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง
ประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน
ปัญหาด้านสังคมและวัฒนธรรมปัญหาด้านสังคมและวัฒนธรรม • ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน • ความแตกต่างทั้งในเรื่องระบบการเมือง ระบบ เศรษฐกิจ ระบบวัฒนธรรม ศาสนา และเชื้อชาติ • ปัญหาการมีอัตลักษณ์ร่วมกัน
ปัญหาประชาชนยังมีความไม่ไว้วางใจซึ่งกันปัญหาประชาชนยังมีความไม่ไว้วางใจซึ่งกัน และกัน • ปัญหาด้านโครงสร้าง • ปัญหาการทำให้ประชาคมอาเซียนเป็น ประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง • ปัญหาการที่ประชาชนไม่มีความรู้เรื่องอาเซียน
ข้อเสนอการทำให้อาเซียนเป็นองค์กรของประชาชนอย่างแท้จริงข้อเสนอการทำให้อาเซียนเป็นองค์กรของประชาชนอย่างแท้จริง