210 likes | 953 Views
หนังสือเรียน. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาคหกรรม. 2402-2013. วิชา ขนมไทย. นริศรา ชูรา และดุษฎี น้อยใจบุญ สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ. สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. 2402-2013 รายวิชา ขนมไทย. หลักการและเหตุผล.
E N D
หนังสือเรียน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาคหกรรม 2402-2013 วิชา ขนมไทย นริศรา ชูรา และดุษฎี น้อยใจบุญสำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 2402-2013 รายวิชา ขนมไทย
หลักการและเหตุผล การศึกษาถือเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยพัฒนาบุคคลให้มีลักษณะที่พึงประสงค์ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานสำคัญที่จะช่วยสร้างและพัฒนาประเทศชาติ การจัดการศึกษาจึงต้องพัฒนาความคิดแก่ผู้เรียนให้เขาใช้ กำลังปัญญาเป็นอาวุธ วิชาขนมไทยเป็นอีกวิชาที่มุ่งมั่น ตั้งใจอนุรักษ์วัฒนธรรมภูมิปัญญาไทย และส่งเสริม พัฒนาองค์ความรู้ให้ก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและสังคมในยุคปัจจุบัน
วิชา ขนมไทย (2402-2013) จุดประสงค์รายวิชา 1. มีความเข้าใจการเลือก การใช้วัตถุดิบอุปกรณ์วิธีการและเทคนิคการทำ ขนมไทยการบรรจุภัณฑ์และจัดจำหน่าย 2. มีความสามารถในการเตรียมวัตถุดิบเลือกใช้อุปกรณ์เครื่องใช้ในการทำขนมไทย 3. มีความสามารถในการทำขนมไทย จัดตกแต่ง บรรจุภัณฑ์และจัดจำหน่าย 4. มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อยประณีต รอบคอบ และ มีความรับผิดชอบ
มาตรฐานรายวิชา 1. เข้าใจการเลือกวัตถุดิบและอุปกรณ์วิธีการและ เทคนิค การทำขนมไทยการบรรจุภัณฑ์และการ จัดจำหน่าย 2. เลือกใช้อุปกรณ์เครื่องใช้ในการทำขนมไทย 3. เตรียมวัตถุดิบในการทำขนมไทย 4. ทำขนมไทย จัดตกแต่งบรรจุภัณฑ์และจัดจำหน่าย
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ การเลือก การใช้วัตถุดิบในการทำขนมไทย ประเภทของขนมไทยการเลือกใช้อุปกรณ์ในการทำขนมไทยวิธีการและเทคนิคการทำขนมไทยบรรจุภัณฑ์และจัดจำหน่าย
วิชาขนมไทย แบ่งเนื้อหาบทเรียนออกเป็น 7 บท บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับขนมไทย บทที่ 2 วัตถุดิบในการทำขนมไทย บทที่ 3 อุปกรณ์การทำขนมไทย บทที่ 4 ประเภทขนมไทย บทที่ 5 บรรจุภัณฑ์ขนมไทย บทที่ 6 การคิดต้นทุนและการจัดจำหน่าย บทที่ 7 วิธีการและเทคนิคการทำขนมไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับขนมไทย • จุดประสงค์ • ความเป็นมาของขนมไทย • ท้าวทองกีบม้า “ราชินีขนมไทย” • คุณสมบัติของผู้ประกอบขนมไทย • ศัพท์น่ารู้ที่ใช้ในงานขนมไทย • มาตราการ ชั่ง ตวง • สรุป • แบบฝึกหัด
บทที่ 2วัตถุดิบในการทำขนมไทย • จุดประสงค์ • ประเภทของวัตถุดิบ • เครื่องปรุงรส • สี • กลิ่น • สรุป • แบบฝึกหัด
บทที่ 3 อุปกรณ์การทำขนมไทย • จุดประสงค์ • อุปกรณ์การชั่ง ตวง • อุปกรณ์การเตรียม • อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบ • เครื่องมือหรือพิมพ์ต่างๆ • สรุป • แบบฝึกหัด
บทที่ 4 ประเภทของขนมไทย • จุดประสงค์ • ขนมไทยแบ่งตามวัตถุดิบ • ขนมไทยแบ่งตามกรรมวิธีการหุงต้ม • สรุป • แบบฝึกหัด
บทที่ 5 บรรจุภัณฑ์ขนมไทย • จุดประสงค์ • ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ • ประเภทของบรรจุภัณฑ์ • การออกแบบบรรจุภัณฑ์ขนมไทย • การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ขนมไทย • สรุป • แบบฝึกหัด
บทที่ 6 การคิดต้นทุนและการจัดจำหน่าย
บทที่ 7 วิธีการและเทคนิคการทำขนมไทย • จุดประสงค์ • วิธีการและเทคนิคการทำขนมไทยจากแป้ง • วิธีการและเทคนิคการทำขนมไทยจากข้าว • วิธีการและเทคนิคการทำขนมไทยจากไข่ • สรุป • แบบฝึกหัด
ผู้เรียน • เอกสารเข้าใจง่ายสามรถศึกษาด้วยตนเองได้ - ตระหนักถึงคุณค่าของภูมิปัญญาไทย - เป็นแนวทางใช้ประกอบอาชีพ
ผู้สอน - ลดเวลาในการเตรียมการสอน - สอนได้ครอบคลุมเนื้อหาและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ - ทำให้การจัดการเรียนการสอนสัมฤทธิ์ผล ผู้เรียนนำไปประกอบอาชีพได้
ผู้บริหาร • สร้างภาพลักษณ์แห่งคุณภาพการอาชีวศึกษา • สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการจัดการอาชีวศึกษา
สถาบันการศึกษา • สร้างภาพลักษณ์แห่งคุณภาพการอาชีวศึกษา - เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการผลิตและพัฒนากำลังคนให้สามารถสร้างผลผลิตที่เป็นมาตรฐานแข่งขันได้ - สนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ ทักษะทางวิชาชีพการเป็น ผู้ประกอบการให้กับนักเรียนอาชีวศึกษา