230 likes | 395 Views
นโยบายà¸à¸²à¸£à¸”ำเนินงานà¸à¸²à¸«à¸²à¸£à¸›à¸¥à¸à¸”ภัยปี 2553 ศิ ริรัตน์ à¹à¸à¹‰à¸§à¸›à¸£à¸°à¹€à¸ªà¸£à¸´à¸ นัà¸à¸§à¸´à¸Šà¸²à¸à¸²à¸£à¸ªà¸²à¸˜à¸²à¸£à¸“สุข ชำนาà¸à¸à¸²à¸£ งานà¸à¸²à¸«à¸²à¸£à¸›à¸¥à¸à¸”ภัย สสจ.สุรินทร์. นโยบายรัà¸à¸šà¸²à¸¥à¸”้านความปลà¸à¸”ภัยà¸à¸²à¸«à¸²à¸£.
E N D
นโยบายการดำเนินงานอาหารปลอดภัยปี 2553 ศิริรัตน์ แก้วประเสริฐ นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการ งานอาหารปลอดภัย สสจ.สุรินทร์
นโยบายรัฐบาลด้านความปลอดภัยอาหารนโยบายรัฐบาลด้านความปลอดภัยอาหาร • มีระบบการดูแลคุณภาพความปลอดภัยอาหารตลอดห่วงโซ่อาหาร(Food Chain) ตั้งแต่วัตถุดิบการแปรรูปการปรุงประกอบการขนส่งการจำหน่ายจนถึงผู้บริโภคนำไปสู่การมีสุขภาพดีของคนในประเทศและคุณภาพอาหารเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติเกิดเป็นภาพลักษณ์ที่ดีต่อประเทศไทย
แผนยุทธศาสตร์ โครงการความปลอดภัยด้านอาหาร วัตถุประสงค์ “เพื่อให้อาหารที่ผลิตและบริโภคภายในประเทศมีความปลอดภัยได้มาตรฐานทัดเทียมกับสากล นำไปสู่การเป็นครัวอาหารของโลก”
นโยบายรัฐบาล “ความปลอดภัยอาหาร” กระทรวงสาธารณสุข เน้นการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในกลุ่ม - อาหารสด - อาหารปรุงสำเร็จ - อาหารแปรรูป
ครัวไทย ครัวโลก กรอบแนวคิดงานอาหารปลอดภัย กรมอนามัย ปี 2549 การท่องเที่ยว พัฒนาสถานประกอบ การให้ได้มาตรฐาน รวมตัวเป็น ชมรมฯ รัฐบาล กระทรวง สาธารณสุข กรมอนามัย นโยบาย ผลักดัน ตลาดสดน่าซื้อ CFGT ผู้ประกอบการ เป้าหมาย ร้านอาหาร,แผงลอย (เมนูชูสุขภาพ, ช้อนกลาง,ล้างมือ) เป้าหมาย ตลาดประเภทที่ 1 เอกชน พัฒนาองค์ความรู้ และเทคโนโลยี SME ภาครัฐ เงินทุน เข้าใจง่าย/เป็นรูปธรรม พัฒนาผู้บริโภค อบจ./อบต. เทศบาล สสจ. ศูนย์ กรมอนามัย ปฏิบัติได้จริง มีความรู้ ปฏิบัติ/ออกเทศบัญญัติ ควบคุมกำกับ/เฝ้าระวังฯ Food Inspector สนับสนุนท้องถิ่น ปชส. ตรวจสอบคุณภาพ วิเคราะห์ เฝ้าระวังฯ Inspector สนับสนุน พัฒนาจนท. เฝ้าระวังฯ นโยบาย พัฒนากฎหมาย กำหนดมาตรฐาน แหล่งทุน ผลิตองค์ความรู้ เข้าถึงได้ง่าย มีความรู้/เลือกเป็น Website/E-learning พิทักษ์สิทธิตนเอง พัฒนาใช้ข้อมูล GIS เป็นหูเป็นตาให้ภาครัฐ Food Spy
โครงการอาหารสะอาดรสชาติอร่อยโครงการอาหารสะอาดรสชาติอร่อย เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี2542 • ร้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร 15 ข้อ และผ่านเกณฑ์ด้านแบคทีเรีย 90%(ใช้ชุดทดสอบ SI-2) • แผงลอยผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร 12 ข้อ และผ่านเกณฑ์ด้านแบคทีเรีย 90%(ใช้ชุดทดสอบ SI-2)
ผลการดำเนินงานของจังหวัดสุรินทร์ ข้อมูลปี 2553 (ณ วันที่ 30 ก.ย.2553)
ร้านอาหาร 5 ดาว ยกระดับร้านอาหารมาตรฐานกรมอนามัยให้เป็นระดับ 5 ดาว โดยมีองค์ประกอบดังนี้ 1. เป็นร้านอาหารที่ผ่านเกณฑ์ CFGT 2. มีเมนูชูสุขภาพ 3. มีการเสิร์ฟช้อนกลางให้แก่ผู้บริโภค 4. มีอุปกรณ์การล้างมือ ( อ่างล้างมือ, น้ำ, สบู่ ) และผู้ปรุง-ผู้เสิร์ฟ ต้องมีการล้างมือที่ถูกสุขลักษณะ 5. ห้องส้วมต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐานส้วมสาธารณะ ในเรื่อง - ความสะอาด ( Healthy : H ) - ความเพียงพอ (Accessibility : A ) - ความปลอดภัย ( Safety : S )
โครงการตลาดสดน่าซื้อ แนวทางการดำเนินงาน 1. กระตุ้นผู้ประกอบกิจการตลาดสดที่เข้าร่วมโครงการให้พัฒนาตลาดสดให้ได้ ตามเกณฑ์ทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ด้านความปลอดภัยอาหาร และด้านการคุ้มครองผู้บริโภค 2. จัดประชุมชมรมผู้ขายของในตลาดสด และชมรมเจ้าของตลาดระดับประเทศ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของเครือข่าย 3. สนับสนุนให้ชมรมเ จ้าของและผู้ขายของในตลาดมีความเข้มแข็งและมีการแลก เปลี่ยนศึกษาดูงานซึ่งกันและกัน 4. ประชาสัมพันธ์ป้ายรับรองตลาดสดน่าซื้อ ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น
ผลการดำเนินงานตลาดสดน่าซื้อผลการดำเนินงานตลาดสดน่าซื้อ ข้อมูล ณ วันที่ 10 มีนาคม 2549
โครงการรณรงค์ ปี 2553
โครงการคนไทยใช้ช้อนกลางโครงการคนไทยใช้ช้อนกลาง เหตุผล • ผู้บริโภคยังมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องในการกินอาหารร่วมกัน • ขาดความเอาใจใส่ในการป้องกันตนเองจากโรคที่สามารถติดต่อผ่านทางน้ำลายได้ ได้แก่ ไข้หวัดใหญ่ คางทูม โปลิโอ วัณโรค ไวรัสตับอักเสบ วัตถุประสงค์ • ผู้ประกอบการค้าอาหาร มีความรู้ ความเข้าใจและเสิร์ฟช้อนกลางทุกครั้ง • ผู้บริโภคมีความรู้และพฤติกรรมการกินอาหารร่วมกันที่ถูกต้อง • ป้องกันโรคที่สามารถติดต่อผ่านทางน้ำลายผู้ป่วย สู่ผู้บริโภค
โครงการรณรงค์มือสะอาด ปราศจากโรค เหตุผล • มือเป็นอวัยวะที่ใช้ทำกิจกรรมมากมาย • มือสกปรกนำเชื้อโรคมาปนเปื้อนในอาหารได้ • การล้างมือช่วยป้องกันโรคได้ ได้แก่ โรคที่ระบาดโดยอุจจาระ เช่น อหิวาตกโรค ไข้ไทฟอยด์ โรคพยาธิ โรคที่เกิดจากแบคทีเรียในแผล ฝี หนอง วัตถุประสงค์ • กระตุ้นให้ประชาชนทุกกลุ่มเห็นความสำคัญ มีความรู้ และมีพฤติกรรมการล้างมือที่ถูกสุขลักษณะ
การดำเนินงาน เรื่อง อาหารถุง • อาหารถุงอาหารปรุงสำเร็จที่พร้อมบริโภคทันทีตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่237โดยมีลักษณะ ใส่ถุงวางจำหน่ายบริเวณตลาดประเภทที่1ซุปเปอร์มาร์เก็ตหรือบริเวณที่มีการจำหน่ายอาหารถุงทั่วไป • เป้าหมายปี2549 อาหารถุงที่สุ่มตรวจด้วย SI-2 ต้องผ่านเกณฑ์ทางด้านแบคทีเรีย ร้อยละ 70 ของอาหารถุงที่ตรวจทั้งหมด • พื้นที่เป้าหมาย30 % ของตลาดประเภทที่1 สุ่มตรวจ 30 ตัวอย่าง/ตลาด
การดำเนินการ เมื่อพบว่า อาหารถุง มีการปนเปื้อนเกินเกณฑ์ที่กำหนด • ตรวจแนะนำที่แผง /จุดขาย/หรือสถานที่เตรียมปรุงอาหารถุง • จัดอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการ • ใช้มาตรการทางกฎหมาย - ข้อบัญญัติท้องถิ่น - พรบ.อาหาร พ.ศ. 2522
ภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมดำเนินงานภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมดำเนินงาน เจ้าหน้าที่ ผู้ประกอบ การ ผู้บริโภค
เจ้าหน้าที่ • พัฒนาความรู้และทักษะการดำเนินงาน Food Inspector • ผลักดันให้มีการใช้มาตรการด้านกฎหมาย
ผู้ประกอบการ • มีความรู้ วิชาการ เทคโนโลยี ทันสมัย • รวมกลุ่มเป็นชมรม • จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค โดยการประกอบอาหาร/จำหน่ายอาหารที่สะอาด
ผู้บริโภค • กระตุ้นให้ประชาชนตระหนัก ตื่นตัว เรื่องความปลอดภัยอาหารมากขึ้น • เลือกบริโภคอาหารที่ผ่านการรับรองจากหน่วยงานราชการ เช่น ร้านทีมีป้าย Clean Food Good Taste อาหารสด มีป้ายอาหารปลอดภัย • Food Spy - แจ้งเบาะแสร้านที่ไม่สะอาด - สนับสนุนร้านที่ดี
เทศบาล/อบต.จะมีส่วนสนับสนุนการดำเนินการอย่างไร?เทศบาล/อบต.จะมีส่วนสนับสนุนการดำเนินการอย่างไร? • ออกเทศบัญญัติ/ข้อกำหนดท้องถิ่น • บทบาทเจ้าพนักงานท้องถิ่น -ตรวจแนะนำ/ตรวจสอบ/เฝ้าระวัง • ส่งเสริม/สนับสนุน ผู้ประกอบการให้ปฏิบัติตาม ข้อกำหนดท้องถิ่น • อบรม/ประชาสัมพันธ์
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน
เงื่อนไข • ความรู้ มีความรู้ด้านวิชาการต่างๆ • คุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต อดทน พากเพียร