200 likes | 405 Views
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่องอะตอมและตารางธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. นำเสนอโดย นางสาวอาร์ซีซ๊ะ ดินอะ วิชาเอก เคมี. มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา. กรอบแนวคิดการวิจัย.
E N D
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่องอะตอมและตารางธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 นำเสนอโดย นางสาวอาร์ซีซ๊ะ ดินอะ วิชาเอก เคมี มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องอะตอมและตารางธาตุ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องอะตอมและตารางธาตุ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ขั้นตอนที่ 1 การสร้างและหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ขอบเขตด้านเนื้อหา หน่วยย่อยที่ 1 เรื่องสมบัติของธาตุ หน่วยย่อยที่2 เรื่องสัญลักษณ์ของธาตุ หน่วยย่อยที่3 เรื่องอะตอมและอนุภาคมูลฐาน หน่วยย่อยที่4 เรื่องสัญลักษณ์นิวเคลียร์ หน่วยย่อยที่5 เรื่องอะตอมและไอออน หน่วยย่อยที่ 6 เรื่องตารางธาตุ หน่วยย่อยที่ 7 เรื่องประโยชน์ของธาตุ
2) ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล กลุ่มที่ศึกษา ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนจะโหนงพิทยาคม อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จำนวน 11 คน 3) ขอบเขตด้านตัวแปร • 3.1 ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในรายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่องอะตอมและตารางธาตุ ตามเกณฑ์ 80/80
ขั้นตอนที่ 2 การทดลองใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยตามแบบแผนการวิจัยแบบกลุ่มทดลองกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (One group pretest-posttest design) O1แทนผลการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ก่อนทดลอง Xแทนการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ O2 แทนผลการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หลังทดลอง O1 X O2
ขั้นตอนที่ 2 การทดลองใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1) ขอบเขตด้านเนื้อหา มุ่งศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องอะตอมและตารางธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างก่อนเรียน และหลังเรียน 2) ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล กลุ่มที่ศึกษาได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนจะโหนงพิทยาคม อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จำนวน 11 คน
3) ขอบเขตด้านตัวแปร • 3.1 ตัวแปรต้นได้แก่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องอะตอมและตารางธาตุ • 3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องอะตอมและตารางธาตุ 3.4 ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง คือภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2553 จำนวน8ชั่วโมง
ขั้นตอนที่ 3 ประเมินผลความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1) ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล กลุ่มที่ศึกษา ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนจะโหนงพิทยาคม อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จำนวน 11 คน 2) ขอบเขตด้านตัวแปร 2.1) ตัวแปรต้น ได้แก่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่องอะตอมและตารางธาตุ • 2.2) ตัวแปรตาม ได้แก่ ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่องอะตอมและตารางธาตุ
ผลการวิจัย ขั้นตอนที่ 1 ผลการหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เท่ากับ 84.70/82.73 ซึ่งมีค่าสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้คือ 80/80 แสดงว่าการจัดการเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่องอะตอมและตารางธาตุ มีประสิทธิภาพ และใช้ได้ผลดีกับนักเรียนชั้น ม.4 โรงเรียนจะโหนงพิทยาคม ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานข้อ 1
ขั้นตอนที่ 2 ผลการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ตารางแสดงการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ • ** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01
ขั้นตอนที่ 3 ผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ 1. ควรควรมีการวิจัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมกับเนื้อหาต่างๆ ในรายวิชาอื่นๆต่อไป 2. ควรส่งเสริมนำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์นี้ไปเผยแพร่ในอินเทอร์เนต เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษาในวงกว้างต่อไป
Thank you for kind attention