1 / 20

นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของภาควิชาชีววิทยา พบกรรมการบริหารหลักสูตรฯ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2554

นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของภาควิชาชีววิทยา พบกรรมการบริหารหลักสูตรฯ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2554. หลักเกณฑ์จบการศึกษาของแผน ก แบบ ก 2. เรียนครบในรายวิชาและจำนวนหน่วยกิตตามโครงสร้างหลักสูตร

raleigh
Download Presentation

นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของภาควิชาชีววิทยา พบกรรมการบริหารหลักสูตรฯ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2554

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของภาควิชาชีววิทยาพบกรรมการบริหารหลักสูตรฯวันที่ 4 พฤศจิกายน 2554

  2. หลักเกณฑ์จบการศึกษาของแผน ก แบบ ก 2 • เรียนครบในรายวิชาและจำนวนหน่วยกิตตามโครงสร้างหลักสูตร • GPA ไม่ต่ำกว่า 3.0 พร้อมทั้งเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ และ ผลงานวิทยานิพนธ์ จะต้องได้รับการตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานการประชุม

  3. ***ในกรณีที่ไม่สามารถดำเนินการสอบได้ภายใน 45 วัน การได้สัญลักษณ์ S ในครั้งการประเมินครั้งสุดท้ายเป็นโมฆะ ***เล่มวิทยานิพนธ์ต้องส่งให้กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ก่อนสอบอย่างน้อย 20 วัน

  4. การดำเนินการสอบวิทยานิพนธ์ (นักศึกษาเป็นผู้ดำเนินการ) • ติดต่อ ประธานหลักสูตรฯ (อาจารย์ณัฐปภัสร์) เพื่อขอชื่อ internal examiner • หลังจากทำเรื่องขอสอบและแต่งตั้งกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ที่งานบริการ เรียบร้อยแล้ว ให้นำเอกสารขอสอบไปติดต่อเจ้าหน้าที่สารบรรณของภาควิชา เพื่อ • ทำหนังสือราชการเชิญกรรมการสอบ • จองห้องสอบ • ทำเรื่องเบิกค่าใช้จ่ายในการสอบ

  5. คณาจารย์สาขาสัตววิทยาคณาจารย์สาขาสัตววิทยา

  6. คณาจารย์สาขาพฤกษศาสตร์คณาจารย์สาขาพฤกษศาสตร์

  7. คณาจารย์สาขาพันธุศาสตร์คณาจารย์สาขาพันธุศาสตร์

  8. การดำเนินการสอบวิทยานิพนธ์ (นักศึกษาเป็นผู้ดำเนินการ) • การสอบวิทยานิพนธ์เป็นแบบเปิดเผยให้ผู้สนใจเข้าฟัง • ก่อนการสอบวิทยานิพนธ์ต้องมีการประชาสัมพันธ์ล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วันในการประชาสัมพันธ์คือ 1. ติดประกาศกำหนดการสอบบนบอร์ดของภาควิชา 2. ส่งประกาศดังกล่าวให้ ผศ.ดร.วัฒนา พัฒนากูล นำขึ้น web ของภาควิชาฯ • ก่อนการสอบวิทยานิพนธ์อย่างน้อย 7 วัน นักศึกษาติดโปสเตอร์ขนาดมาตรฐาน (เช่น 80x100 cm.) ที่มีเนื้อหาสำคัญของผลงานวิทยานิพนธ์ บนบอร์ดของห้องประชุมภาควิชาฯ ชั้น 1 และส่งโปสเตอร์ดังกล่าวที่จัดพิมพ์ขนาด A4 ให้เลขาหลักสูตรฯ (อ.จันทร์ทิพย์)

  9. รายละเอียดในสไลด์ถัดไปรายละเอียดในสไลด์ถัดไป

  10. ***ในขั้นตอนนี้ต้องใช้เวลานานในการตรวจรูปแบบ(นักศึกษาต้องติดตามอย่างใกล้ชิด)***ในขั้นตอนนี้ต้องใช้เวลานานในการตรวจรูปแบบ(นักศึกษาต้องติดตามอย่างใกล้ชิด)

  11. ปฎิทินรายวิชาบังคับของหลักสูตร ป.โท

  12. นักศึกษาพิมพ์ใบรายงานผลการเรียนทุกภาคการศึกษาแนบมาพร้อมกับ ใบรายงานเกรดวิชาวิทยานิพนธ์

  13. ปฎิทินรายวิชาบังคับของหลักสูตร ป.โท

  14. 1. การนำเสนอรายงานความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ ประจำภาคปลาย ปีการศึกษา 2554 • นักศึกษาที่ต้องนำเสนอรายงานความก้าวหน้าฯ คือนักศึกษาที่มีรหัสประจำตัวขึ้นต้นด้วยรหัสคู่ เช่น 50, 52 และ 54 เป็นต้น • ลงทะเบียนวิชาวิทยานิพนธ์ (ไม่ว่าจะกี่หน่วยกิตก็ตาม) • นักศึกษาที่ต้องนำเสนอรายงานความก้าวหน้าฯ ในภาคการศึกษานี้มีจำนวน 11 คน (จากนักศึกษาที่ลงทะเบียนวิชาวิทยานิพนธ์ทั้งหมด 29 คน) ได้แก่

  15. 1. การนำเสนอรายงานความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ ประจำภาคปลาย ปีการศึกษา 2554 นักศึกษาที่จะสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ในภาคการศึกษานี้ ถ้ากำหนดวันสอบก่อนวันเสนอรายงานความก้าวหน้าฯ (29 ก.พ. 55) อนุโลมให้นักศึกษาไม่ต้องนำเสนอรายงานความก้าวหน้าฯ แต่ถ้านักศึกษาสอบป้องกันวิทยานิพนธ์หลังวันที่ 29 ก.พ. 55 ต้องนำเสนอรายงานความก้าวหน้าฯ ด้วย

  16. ปฎิทินรายวิชาบังคับของหลักสูตร ป.โท

  17. 2. TA วิชาปฏิบัติการปี 1 นักศึกษา ป.โท และ ป.เอก ที่เป็น TA ให้กับวิชาอื่นนอกเหนือจากวิชาปฏิบัติการปี 1 จะสามารถนำจำนวนครั้งที่เป็น TA วิชานั้นมาทดแทนวิชาปฏิบัติการปี 1 ได้ ก็ต่อเมื่อวิชาดังกล่าวมีนักศึกษามากกว่า 90 คน และมีจำนวนอาจารย์ผู้สอนไม่เพียงต่อจำนวนนักศึกษา (โดยทั่วไปกำหนดสัดส่วนอาจารย์ 1 ท่าน ต่อนักศึกษา 25-30 คน) และให้อาจารย์ประจำวิชาแจ้งความประสงค์ที่หัวหน้าภาคฯ และอาจารย์ผู้จัดตารางวิชาปฏิบัติการปี 1 ในภาคการศึกษานั้นๆ

More Related