1.1k likes | 1.31k Views
ความเข้าใจเกี่ยวกับ การประเมิน คุณภาพการศึกษาภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบสาม (2554) 11 ก.ย. 2554 รองศาสตราจารย์ ดร. วิชัย แหวนเพชร กรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน สกอ. และกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก สมศ. ความจำเป็นในการประกันคุณภาพการศึกษา.
E N D
ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบสาม (2554) 11 ก.ย. 2554 รองศาสตราจารย์ ดร. วิชัย แหวนเพชร กรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน สกอ. และกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก สมศ.
ความจำเป็นในการประกันคุณภาพการศึกษาความจำเป็นในการประกันคุณภาพการศึกษา • คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาและบัณฑิตแตกต่างกัน • ความท้าทายของยุคโลกาภิวัฒน์(Globalization) และประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) • การสร้างความเชื่อมั่นแก่สังคมในการสร้างบัณฑิต • สถาบันอุดมศึกษาต้องให้ข้อมูลด้านคุณภาพแก่สาธารณะ(Public Information) • เป็นไปตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 ปรับปรุง 2545 -มาตรา ๔๗ ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ....
-มาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา -มาตรา ๔๙ ให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็นองค์การมหาชน 6. สกอ.ประกาศ มาตรฐานอุดมศึกษา เมื่อ 1 สค.2549 มาตรฐาน 3 ด้าน 12 ตัวบ่งชี้ คือ 1) มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิตที่จะต้องมีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม ความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ เพื่อการดำรงชีวิตในสังคม สำนึกและรับผิดชอบในฐานะพลเมืองและพลโลก2)มาตรฐานด้านการบริหารจัดการการอุดมศึกษาที่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและพันธกิจของอุดมศึกษาอย่างดุลยภาพและ3)มาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ ที่จะแสวงหาการสร้าง และจัดการความรู้ตามแนวทางหลักการอันนำไปสู่สังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้
7. มาตรฐานอุดมศึกษา จัดการศึกษาแบ่งเป็น 4 กลุ่ม(เมื่อ12พ.ย.2551) • วิทยาลัยชุมชน • สถาบันเน้น ปริญญาตรี* • สถาบันเน้นเฉพาะทาง • สถาบันเน้นวิจัยชั้นสูงและผลิตบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก 8. สกอ. ประกาศ มาตรฐานกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) เมื่อ 2 กค.2552 เพื่อประกันคุณภาพบัณฑิตในแต่ละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา
ความเชื่อมโยงระหว่างมาตรฐานการศึกษาและคุณภาพของชาติความเชื่อมโยงระหว่างมาตรฐานการศึกษาและคุณภาพของชาติ มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานที่1 คุณลักษณะของคนไทยที่พึง ประสงค์ทั้งในฐานะพลเมือง และพลโลก มาตรฐานที่2 แนวทางการจัดการศึกษา มาตรฐานที่3 แนวการสร้างสังคมแห่ง การเรียนรู้/สังคมแห่งความรู้ มาตรฐานการ อุดมศึกษา 1.มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต 2.มาตรฐานด้านการบริหาร จัดการการอุดมศึกษา 3.มาตรฐานด้านการสร้างและ พัฒนาสังคมฐานความรู้และ สังคมแห่งการเรียนรู้ หลักเกณฑ์กำกับ มาตรฐานรวมถึง กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ การประกันคุณภาพภายใน ภายใต้ตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน-ประกัยภายนอก ผลผลิตทางการศึกษาที่ได้คุณภาพและมาตรฐาน
Quality is a Journey • Quality is not a destination • Quality is customer satisfaction • Indicator is a life
…..“คุณภาพของมหาวิทยาลัยขึ้นอยู่กับ…..“คุณภาพของมหาวิทยาลัยขึ้นอยู่กับ ความเข้มแข็งของสภามหาวิทยาลัยด้วย” …..“พัฒนาชาติให้พัฒนาคน พัฒนาคนให้พัฒนาการศึกษา พัฒนาการศึกษาให้พัฒนาครูอาจารย์” ….“อาจารย์เป็นอย่างไร มหาวิทยาลัยก็เป็นอย่างนั้น”
“People do not perform what you expect,But they do perform what you inspect”
Principle • IQA vs EQA • ใครนำไปใช้ประโยชน์ • ใช้มาตรฐานของใคร • ความเหมือนที่แตกต่างในการพัฒนา
การประเมิน Internal assessmentExternal assessment 1. เป้าหมายของสถาบัน1. เป้าหมายของ ประเทศ มาตรฐานของสถาบัน ( +สกอ ) ตามพรบ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 (โดยมีพรบ.การศึกษา 2542 เป็นมาตรฐานต่ำสุด) 2. ใช้ดัชนีชี้วัด+เกณฑ์ของ 2. ใช้ดัชนีชี้วัด+เกณฑ์ของสมศ. สกอ 23 ตัวชี้วัด+ดัชนีชี้วัดของสถาบัน 18 ตัวชี้วัด (+กพร+องค์กรวิชาชีพ) 3. เพื่อพัฒนา-ให้สูงกว่าเดิม3. เพื่อรับรอง-กำกับไม่ให้ต่ำกว่านี้ 4. ทุก 1 ปี 4. ทุก 5 ปี 5. โดยองค์กรภายในหรือต้นสังกัด5. โดย องค์กรภายนอก :- สมศ
รูปแบบและวิธีการดำเนินการประเมินคุณภาพภายนอกรูปแบบและวิธีการดำเนินการประเมินคุณภาพภายนอก • เพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา • ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็นธรรม โปร่งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็นจริง • เน้นเรื่องการส่งเสริมและประสานงานในลักษณะกัลยาณมิตร • มีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพและพัฒนาการจัดการศึกษาจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง • สร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลักการศึกษาของชาติตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แต่สามารถกำหนดเป้าหมายเฉพาะและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เต็มตามศักยภาพของสถาบันและผู้เรียน • ให้ความอิสระในเอกลักษณ์ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายของสถาบัน
ขั้นตอนรอรับการประเมินขั้นตอนรอรับการประเมิน 1. ขั้นเตรียมการ 2. ขั้นการหาหลักฐานและยืนยันหลักฐาน 3.ขั้นสรุปข้อมูลและตัดสินผลตามเกณฑ์ 4. ขั้นการเขียนรายงาน(SAR) 5. ขั้นส่งรายงานผล SAR และและรอรับการประเมิน
คุณภาพบัณฑิต • Head(knowledge) • Hand(skill) • Heart(mind/ethics) • Health • Happiness(work/employ)
คุณภาพเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าผู้บริหารขององค์กร ไม่ตั้งใจและไม่เข้าใจและไม่สู่ปฏิบัติ ถ้าปราศจากความร่วมมือ - จากทุกคนในองค์กร - จากทุกระดับ / หน่วยงาน
วัตถุประสงค์การประเมิน คุณภาพการศึกษาภายนอก
ตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก(รอบสาม)ตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก(รอบสาม) • กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน 15 ตัว • กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 2(3) ตัว • กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 1(2) ตัว รวม 18 (20) ตัว • ระดับคณะตัวบ่งชี้ที่ 12 ไม่ต้องประเมิน
ข้อมูลที่ใช้ประกอบการพิจารณาข้อมูลที่ใช้ประกอบการพิจารณา 1.ตัวบ่งชี้ระดับคณะมีน้อยกว่า ระดับสถาบัน (18 (20) ตัวบ่งชี้) -ตัวบ่งชี้ที่ 12 คณะไม่ต้องประเมิน -ตัวบ่งชี้ที่ 16,17, 18 คณะจะประเมินร่วมหรือแยกกับสถาบันก็ได้ 2. ข้อมูลตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ ให้ใช้ผลดำเนินการ 3 ปีเฉลี่ยหรือ1ปีก็ได้ เฉพาะปี 2553 ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพใช้ผลการดำเนินการ 1 ปี ก่อนปีที่ประเมิน เช่นประเมินปี 2554 ให้ใช้ข้อมูลปี 2553 3. ประเมินระดับสถาบัน และประเมินคณะ/ศูนย์นอกที่ตั้ง
ข้อมูลที่ต้องการตังบ่งชี้ที่ 1 • จำนวนบัณฑิตที่สำเร็จ • จำนวนแบบสอบถามที่แจก(อย่างน้อยร้อยละ 70) • จำนวนแบบสอบถาที่ตอบกลับ • จำนวนบัณฑิตที่หักศึกาต่อ/มีงานทำก่อน/บวช/เกณฑ์ทหาร • จำนวนบัณฑิตที่ไม่มีงานทำ • ของแต่ละคณะและรวมเฉลี่ยเป็นของสถาบัน
ตัวบ่งชี้ที่ 1 • ปี 2554 สถาบัน ดำเนินการเอง • สำรวจบัณฑิต อย่างน้อยร้อยละ 70 แยกคณะ • จำนวนบัณฑิตไม่นับรวม บัณฑิตที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา ผู้อุปสมบท ลาศึกษาต่อ ผู้ถูกเกณฑ์ทหาร ให้หักทั้งตัวตั้งตัวหาร • ใช้ข้อมูล 3 ปีหรือ 1 ปีก็ได้
ตัวบ่งชี้ที่ 2 • ปี 2554 ให้สถาบันทำข้อมูลเอง โดยใช้แนว แบบสำรวจ ที่ สมศ. จัดทำขึ้น ให้ ใช้ ปีเดียว • ทำแล้วแบบสำรวจนี้ตอบได้ทั้งตัวบ่งชี้ ที่ 2 และ ที่ 16.2 • สอบถามจากผู้ใช้บัณฑิต ป. ตรี-โท-เอก • ข้อมูลที่ใช้ อย่างน้อยร้อยละ 20 ของบัณฑิต ในแต่ละระดับ • ข้อมูลแต่ละคณะรวมเป็นของมหาวิทยาลัย
ตัวบ่งชี้ที่ 3 • ใช้ข้อมูล 3 ปีหรือ 1 ปีได้ • ต้องมีจำนวน บัณฑิต ป. โท ที่จบแต่ละปีของแต่ละคณะรวมเป็นของมหาวิทยาลัย • มีชื่อบัณฑิต ชื่อผลงาน ชื่อวารสาร • เกณฑ์ กำหนดให้ร้อยละ 25 เท่ากับ 5
ตัวบ่งชี้ที่ 4 • ใช้ข้อมูล 3 ปีหรือ 1 ปีได้ • ต้องมีจำนวน บัณฑิต ป. เอก ที่จบแต่ละปี แต่ละคณะรวมเป็นของมหาวิทยาลัย • มีชื่อบัณฑิต ชื่อผลงาน ชื่อวารสาร เกณฑ์ ร้อยละ 50 เท่ากับ 5 คะแนน
ปีที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลปีที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล • ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ • ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (ใช้ข้อมูลตามปีปฏิทิน ใช้ข้อมูล 3 ปีหรือ 1 ปีได้)
ตัวบ่งชี้ที่ 5 • จำนวนอาจารย์ประจำรวมศึกษาต่อ • จำนวนนักวิจัย(ถ้ามี) • ระดับแต่ละคณะ งานวิจัยแยก-สาขาวิทยสุขภาพ/วิทย์ เทดโนโลยี/เกณฑ์ ร้อยละ 20 ส่วนมนุษ์สังคม ร้อยละ 10 • ระดับสถาบันนำแต่ละคณะมารวมเฉลี่ย
ตัวบ่งชี้ที่ 6 • จำนวนอาจารย์ประจำรวมศึกษาต่อ • จำนวนนักวิจัย(ถ้ามี) • ระดับแต่ละคณะ จำนวนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์โดยหน่วยงานภายนอก เกณฑ์ร้อยละ 20 • ระดับสถาบันนำแต่ละคณะมารวมเฉลี่ย
ปีที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลปีที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล • ตัวบ่งชี้ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ • ตัวบ่งชี้ที่ 6 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ • ตัวบ่งชี้ที่ 7 ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ • จำนวนอาจารย์ประจำให้รวมศึกษาต่อ (ใช้ข้อมูลตามปีปฏิทิน และใช้ผลดำเนินการ 3 ปีหรือ 1 ปีได้)