310 likes | 511 Views
การปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง ( 2552-2561). โดย รองศาสตราจารย์ธงทอง จันทรางศุ เลขาธิการสภาการศึกษา. วิกฤตของประเทศและความพยายามในการปฏิรูปการศึกษา ก่อนปี 2542. วิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 และกระแสเรียกร้องการ สร้างคนที่มี “ความรู้” คู่ “คุณธรรม”
E N D
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (2552-2561) โดย รองศาสตราจารย์ธงทอง จันทรางศุ เลขาธิการสภาการศึกษา
วิกฤตของประเทศและความพยายามในการปฏิรูปการศึกษา ก่อนปี 2542 • วิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 และกระแสเรียกร้องการ สร้างคนที่มี “ความรู้” คู่ “คุณธรรม” • ประเทศไทยเคยมีความพยายามที่จะปฏิรูป การศึกษาหลายครั้ง แต่ความสำเร็จมีน้อย
จุดเริ่มต้นของการปฏิรูปการศึกษาไทยในยุค 40’s • กระแสการปฏิรูปการศึกษาของนานาชาติ • ความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและผลกระทบต่อ การศึกษา • รายงานการศึกษานานาชาติและการศึกษาไทยในเวทีโลก ( เช่น TIMSS, โอลิมปิกวิชาการ) • การศึกษาไทยมีปัญหาคุณภาพตั้งแต่ระดับอนุบาล ถึง ปริญญาเอก
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 • มิติใหม่ของการศึกษาไทย : การศึกษาเป็นสิทธิของ ผู้เรียน • มีสาระบัญญัติในรัฐธรรมนูญว่าด้วยเรื่องการศึกษาของชาติ • นำไปสู่การจัดทำ “พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ” และ “การปฏิรูปการศึกษา”
การปฏิรูปการศึกษา มีทั้งสำเร็จและล้มเหลว
ความสำเร็จมาก • การขยายโอกาสทางการศึกษา12 ปี และ 15 ปี • การจัดการศึกษาสำหรับผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ • การศึกษาทางเลือก การจัดการศึกษาโดยครอบครัว โดย สถานประกอบการ โดยสถาบันศาสนา ฯลฯ • การเพิ่มงบประมาณเพื่อการศึกษา • การมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ความสำเร็จปานกลาง • การปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ • การใช้แหล่งการเรียนรู้ ครูภูมิปัญญาไทย
ความล้มเหลว • การผลิตและพัฒนาครู ผู้บริหาร • วิทยฐานะครูและผู้บริหาร กับ ผลการเรียน ของผู้เรียนไม่สัมพันธ์กัน • สื่อและเทคโนโลยี
เรื่องที่ล้มเหลว แตกแยก และเสียเวลา • การปฏิรูปโครงสร้าง
ตัวชี้วัดบางรายการ • ผู้เรียนขาดโอกาสรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเฉลี่ยได้เพียง 8.7 ปี • ผลการประเมินภายนอกปัจจุบัน (ปี 2548-2551) ของ สมศ.พบว่า
ระดับปฐมวัย (จำนวน 20,184 แห่ง) มีร้อยละ 80.4 ได้มาตรฐาน และร้อยละ 19.6 ต้องได้รับการ พัฒนา • ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (จำนวน 22,425 แห่ง) มีร้อยละ 79.7 ได้มาตรฐาน และร้อยละ 20.3 ต้อง ได้รับการพัฒนา
ระดับอาชีวศึกษา (จำนวน 549 แห่ง) มีร้อยละ 89.6 ได้มาตรฐาน และร้อยละ 10.4 ต้องได้รับ การพัฒนา • ระดับอุดมศึกษา (จำนวน 154 แห่ง) มีร้อยละ 94.8 ได้มาตรฐาน และร้อยละ 5.2 ต้องได้รับการ พัฒนา
ตัวชี้วัดบางรายการ(ต่อ)ตัวชี้วัดบางรายการ(ต่อ) • สัมฤทธิผลในวิชาหลัก (สังคมศาสตร์ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์) เฉลี่ยต่ำกว่าร้อยละ 50
ผลการจัดสอบ O-NET ม.6 ปีการศึกษา 2549-2550
อุปสรรคของการปฏิรูปที่ผ่านมา • การเมืองที่เปลี่ยนแปลงบ่อย • ไม่ได้ให้ความรู้กับฝ่ายการเมือง • ทำปฏิรูปหลายเรื่องเกินไป จึงมีพลังไม่พอ • ขาดเจ้าภาพและผู้นำที่เข้มแข็ง • ไม่มีคนทำ มีแต่คนพูด
นโยบายของรัฐบาลปัจจุบันนโยบายของรัฐบาลปัจจุบัน • ปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ • ส่งเสริมบทบาทภาคเอกชน • พัฒนาครูอาจารย์ บุคลากรทางการ ศึกษา • ให้โอกาสศึกษาฟรี 15 ปี
นโยบายของรัฐบาลปัจจุบัน (ต่อ) • ยกระดับมาตรฐานอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา • ปรับปรุงระบบการกู้ยืมเพื่อการศึกษา • ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การศึกษา • เร่งรัดการลงทุนด้านการศึกษาและเรียนรู้อย่าง มีบูรณาการ
แนวความคิดหลักจากนายกรัฐมนตรี จากการประชุมระดมสมองของ สมศ. 14 พ.ค. 2552 • หลักการที่สำคัญในการปฏิรูปฯ • การสร้างโอกาสและการเข้าถึงการศึกษา • การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม • การสร้างคุณภาพและเนื้อหาในการศึกษา
ประเด็นที่ได้มาจากภาพรวมการระดมความคิดทั่วประเทศประเด็นที่ได้มาจากภาพรวมการระดมความคิดทั่วประเทศ • ไม่ควรปฏิรูปแบบ “ดาวกระจาย” แต่ควรเน้นประเด็นหลักเช่น • การจัดระบบการบริหารจัดการ • การจัดระบบการเงิน • การเน้นคุณธรรมและความซื่อสัตย์ • การสร้างจิตสาธารณะ • การจัดการความรู้ขององค์กร
ประเด็นที่ได้มาจากภาพรวมการระดมความคิดทั่วประเทศประเด็นที่ได้มาจากภาพรวมการระดมความคิดทั่วประเทศ • สร้างพลังในการปฏิรูปจากภายนอกระบบ การศึกษาด้วย ไม่เพียงจากภายในเท่านั้น
ปฏิรูปการศึกษาเพื่ออะไร?ปฏิรูปการศึกษาเพื่ออะไร? • เพื่อได้การศึกษาที่มีคุณภาพ • เพื่อให้ผู้เรียนเป็นจุดศูนย์กลางในการเรียนรู้ ตลอดชีวิต • เพื่อสามารถพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมด้วยการ เรียนรู้
ปฏิรูปการศึกษาเพื่ออะไร?ปฏิรูปการศึกษาเพื่ออะไร? • วิสัยทัศน์:“คนไทยได้เรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ”
สรุป จุดเน้นของการปฏิรูป 3 เรื่อง • คุณภาพ • โอกาสทางการศึกษา เปิดโอกาสให้ คนไทยเข้าถึงการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ • การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนของ สังคม
คุณภาพ • คุณภาพครู • คุณภาพแหล่งเรียนรู้/สถานศึกษา • คุณภาพการบริหารจัดการ
โอกาสทางการศึกษา เปิดโอกาสให้ คนไทยเข้าถึงการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนของ สังคม (ครอบครัว ศาสนา องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง)
กลไกขับเคลื่อนการปฏิรูป กลไกขับเคลื่อนการปฏิรูป • ตั้งคณะกรรมการนโยบายการปฏิรูป การศึกษา โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็น ประธาน • ตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูป การศึกษา โดยมี รมว.ศธ.เป็นประธาน
มีกลไกขับเคลื่อนการปฏิรูป (ต่อ) • จัดตั้งกลไกอื่นๆ ตามความจำเป็น เช่น สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาETV สถาบันคุรุศึกษาสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ เป็นต้น