230 likes | 925 Views
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC). 3. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015). ชุมชนอาเซียน. กฎบัตรอาเซียน. ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC). ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC). ASEAN Charter. พิมพ์เขียว AEC (AEC Blueprint). One Vision One Identity One Community. ประชาคม
E N D
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
3 ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015) ชุมชนอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) ASEAN Charter พิมพ์เขียว AEC (AEC Blueprint) One Vision One Identity One Community ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)
AEC 5 4 เป้าหมายภายใต้ AEC Blueprint เพื่อประสานกลายเป็นหนึ่งเดียว คือ อาเซียน 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. การสร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี โครงสร้างพื้นฐาน เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ปี 2015 e-ASEAN 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค สนับสนุนการพัฒนา SMEs ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย ลดช่องว่างการพัฒนา IAI จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค การมีส่วนร่วมภาครัฐ-เอกชน PPE
7 1.1 ภาษีสินค้า/อุปสรรคนำเข้าจะหมดไปกลายเป็นตลาดอาเซียน 1. ภาษีนำเข้าสินค้า – ต้องเป็นศูนย์(ลดเป็นลำดับตั้งแต่ปี 2536) - 1 ม.ค. 53อาเซียน 6 (SG 100%, TH 99.8%,BR 99.2%, PH 99%, IN 98.7%, ML 98.4%) - 1 ม.ค. 58 อาเซียน 4 (CLMV) 2. อุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers: NTBs) - ต้องหมดไป - อาเซียน 5 (1 ม.ค. 53) ฟิลิปปินส์ (1 ม.ค. 55) CLMV (1 ม.ค. 58) 3. กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (ROOs) – เพิ่มทางเลือกอย่างเท่าเทียม (co-equal) - RVC (40), CTC, PSRs 4. มาตรฐานร่วม – ให้สอดคล้องกับระบบสากลและระหว่างอาเซียน -เครื่องใช้ไฟฟ้า ความปลอดภัยทางไฟฟ้า องค์ประกอบด้านแม่เหล็กไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์ยาง เภสัชกรรม (กำลังดำเนินการ - เกษตร ประมง ไม้ ยานยนต์ วัสดุก่อสร้าง เครื่องมือแพทย์ ยาแผนโบราณ อาหารเสริม) 5. พิธีการทางศุลกากรที่ทันสมัย - อำนวยความสะดวกทางการค้า - ASEAN Single Window, Self-Certification
1.2 อาเซียนสามารถถือหุ้นได้ถึง 70% ในธุรกิจบริการในอาเซียน 8 ปี 2556 (2013) ปี 2553 (2010) ปี 2551 (2008) ปี 2558 (2015) ปี 2549 (2006) สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม e-ASEAN (โทรคมนาคม-คอมพิวเตอร์) สุขภาพ/ท่องเที่ยว/การบิน 70% PIS: Priority Integration Sectors โลจิสติกส์ 70% 49% 51% 70% สาขาอื่นๆ 49% 51% 49% 51% เป้าหมายการเปิดเสรีบริการ = 128สาขาย่อย ไทยสามารถขยายธุรกิจบริการในอาเซียนได้ โดยเฉพาะในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น ท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร สุขภาพ ซ่อมรถ ก่อสร้าง การศึกษา เป็นต้น รวมทั้งดึงดูดการลงทุนเข้ามาในประเทศมากขึ้น ในขณะเดียวกัน เป็นช่องทางให้อาเซียนเข้ามาประกอบธุรกิจบริการในไทยได้สะดวกขึ้น เกิดการแข่งขัน ทำให้เอกชนไทยมีโอกาสพัฒนาธุรกิจมากขึ้น FLEXIBILITY สามารถไม่เปิดเสรี ในบางสาขาได้
1.3 อาเซียนจะกลายเป็นศูนย์กลางการลงทุนทั่วโลก 9 NT – MFNการลงทุนในอาเซียนจะเปิดเสรีและโปร่งใสมากขึ้น FLEXIBILITY หากยังไม่พร้อมเปิดเสรี สามารถทำข้อสงวนไว้ได้ • Challenges • นโยบายเชิงรุกเพื่อดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศ โดยสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุน • นโยบายสนับสนุนให้มีการลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น FDI Portfolio เกษตร บริการเกี่ยวเนื่อง ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ การผลิต • ACIAความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement) - ลงนามปี 2552 • IGAความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนอาเซียน (ASEAN Agreement for the Promotion and Protection of Investment/ Investment Guarantee Agreement) - ปี 1987 • AIAกรอบความตกลงว่าด้วยเขตการลงทุนอาเซียน (Framework Agreement on the ASEAN Investment Area) - ปี 1998
1.4 อาเซียนได้รับการอำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพมากขึ้น 10 MRA ไม่ได้เป็นการเปิดตลาดแต่เป็นเพียงการอำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอใบอนุญาต โดยลดขั้นตอนการตรวจสอบ/รับรองวุฒิการศึกษาหรือความรู้ทางวิชาชีพ สาขาวิศวกรรม MRAs ข้อตกลงยอมรับ นักวิชาชีพในอาเซียนสามารถจดทะเบียนหรือขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ สาขานักสำรวจ* สาขานักบัญชี* สาขาสถาปัตยกรรม สาขาแพทย์ สาขาพยาบาล สาขาทันตแพทย์ * ยังเป็นเพียง Framework หรือ หลักการกว้างๆ โดยต้องมีการเจรจาในรายละเอียดต่อไป
India ACFTA AIFTA China AEC AJCEP AANZFTA Australia New Zealand Japan AKFTA Korea อาเซียนจะต่อยอดจากความตกลงเดิมที่มีอยู่ ??? 16 5 FTAs ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา – ปัจจุบัน “Living Agreements” สินค้า : ลงนาม 29 พ.ย. 47 มีผล 1 ม.ค. 48 บริการ : ลงนาม 14 ม.ค. 50 มีผล 1 ก.ค. 50 ลงทุน : ลงนาม 15 ส.ค. 52 มีผล เม.ย. 53 สินค้า : ลงนาม 13 ส.ค. 52 มีผล 1 ม.ค. 53 บริการ/ลงทุน : กำลังเจรจา สินค้า/บริการ/ลงทุน : ไทยลงนาม 11 เม.ย. 51 สำหรับไทย มีผล 2 มิ.ย. 52 สินค้า/บริการ/ลงทุน : ลงนาม 26 ก.พ. 52 มีผล 1 ม.ค. 53 (ไทยให้สัตยาบัน 12 มี.ค. 53) สินค้า : อาเซียนอื่นลงนาม 28 ส.ค. 49 บริการ : อาเซียนอื่นลงนาม 21 พ.ย. 50 ไทย :บริการ ลงนาม 27 ก.พ. 52 มีผล 1 มิ.ย. 52 สินค้า ลงนาม 27 ก.พ. 52 มีผล 1 ต.ค. 52 ลงทุน: ทุกประเทศ ลงนาม 2 มิ.ย. 52 มีผล 31 ต.ค. 52
Next Station>>RCEP Global Engagement is Key ASEAN-Russia ASEAN-Canada ASEAN-China FTA ASEAN-EU FTA ASEAN-US TIFA ASEAN-Korea FTA ASEAN-Japan CEP RCEP ASEAN-Pakistan ASEAN-India FTA AEC ASEAN-Australia- New Zealand FTA
ศักยภาพของไทยในอาเซียนศักยภาพของไทยในอาเซียน ที่มา : สำนักเลขาธิการอาเซียน, ปี 2010
AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์ อุปสรรคที่มิใช่ภาษีหมดไป ขยายการส่งออกเพิ่มขึ้นไปยังอาเซียน สามารถนำเข้าวัตถุดิบ /กึ่งสำเร็จรูป จากอาเซียนที่มีความได้เปรียบกว่าด้านราคา/คุณภาพ โอกาสส่งออกสินค้าใหม่ที่เคยมีภาษีสูง ไปยังตลาดอาเซียน สินค้าประเภทเดียวกันจากอาเซียนเข้ามาแข่ง ตลาดใหญ่ขึ้น: เกิด economy of scale ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง ต้นทุนของคู่แข่งก็อาจต่ำลงด้วย ทำธุรกิจบริการ ในอาเซียนได้อย่างเสรี ไปตั้งธุรกิจ หรือขยายบริการในอาเซียนได้ ธุรกิจบริการของอาเซียนจะเข้ามาแข่งในไทย แก้ปัญหาขาดแคลนแรงงานฝีมือ แรงงานฝีมือเคลื่อนย้ายได้โดยเสรี อาจถูกแย่งแรงงานฝีมือ ถ้าที่อื่นมีสิ่งจูงใจกว่า
AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) การลงทุนเสรีในอาเซียน ใช้ AEC เป็นฐานการผลิตร่วม สามารถย้ายฐานการผลิตทั้งหมด/บางส่วนไปยังอาเซียนอื่นที่เหมาะเป็นแหล่งผลิต เพื่อเสริมความสามารถแข่งขัน ใช้ CLMV เป็นฐานการส่งออกไปนอกAEC คู่แข่งอาเซียนอาจจะเข้ามาแข่งในเขตแดนเราเพื่อมาใช้ความได้เปรียบ ของปัจจัยการผลิตบางอย่าง ความร่วมมือด้าน การอำนวยความสะดวกทางการค้า ระบบโลจิสติกส์ในภูมิภาคสะดวกและถูกลง ต้นทุนโลจิสติกส์ของคู่แข่งในอาเซียนก็จะลดลงด้วย หากเขาดีกว่า ได้เปรียบด้านภาษีนำเข้าเมื่อเทียบกับสินค้าของประเทศคู่แข่งอื่นในตลาดคู่ค้าเหล่านี้ FTA อาเซียนกับคู่ค้าต่างๆ ASEAN+1, +3, +6 นอกเหนือจากคู่แข่ง 9 ประเทศอาเซียนแล้วยังมีคู่แข่งเพิ่มจากประเทศ +3 หรือ +6
สินค้าที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบสินค้าที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบ สินค้าที่ไทยได้เปรียบสินค้าเกษตรและอุปโภคบริโภค เช่น ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเหลือง กาแฟสำเร็จรูป สินค้าประมง สินค้าปศุสัตว์ (นม เนื้อไก่ ไก่แปรรูป) สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ผ้าไหม น้ำตาล สินค้าอุตสาหกรรมเช่น ผลิตภัณฑ์ยานยนต์ กระดาษและสิ่งพิมพ์ พลาสติก อัญมณีและเครื่องประดับ ยางพารา เครื่องปรับอากาศและทำความเย็น สินค้าหัตถอุตสาหกรรม สินค้าที่ไทยเสียเปรียบ สินค้าที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบจากการเปิด เสรีการค้าในอาเซียน เช่น น้ำมันปาล์ม (มาเลเซีย) กาแฟ (เวียดนาม) มะพร้าว (ฟิลิปปินส์) ชา (อินโดนีเซีย) ไหมดิบ (เวียดนาม) ยา เครื่องสำอาง เครื่องจักรกล เครื่องใช้ไฟฟ้า เหล็กและเหล็กกล้า
26 บริการที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบ • บริการที่ไทยได้เปรียบ การท่องเที่ยว ภาคบริการที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว • อาทิ ร้านอาหาร และโรงแรม • บริการด้านสุขภาพเช่น โรงพยาบาล บริการสปา นวดแผนไทย บริการที่ไทยเสียเปรียบ สาขาที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบ เช่น โลจิสติกส์ โทรคมนาคม สาขาที่ต้องใช้เงินลงทุน และเทคโนโลยีสูง ธุรกิจสถาปนิกขนาดกลางและ ขนาดเล็ก
27 เปลี่ยนวิสัยทัศน์การค้าและการลงทุนใน AEC • ตลาดอาเซียน 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่งเดียว • ผลิตที่ไหนก็ได้ สามารถเคลื่อนย้ายและใช้วัตถุดิบ สินค้าทุน และแรงงานฝีมือ ร่วมกันได้อย่างเสรี • ใช้ประโยชน์จากระบบการขนส่งและโลจิสติกส์ในอาเซียน • ใช้ประโยชน์จากความร่วมมือด้านต่างๆ เช่น การรับรองมาตรฐานร่วมกัน ในคุณสมบัติวิชาชีพวิศวกร • โอกาสการสร้างพันธมิตรทางธุรกิจกับประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อเสริมสร้างจุดแข็งในการแข่งขัน • มองลู่ทางการออกไปลงทุน/ทำงานในประเทศสมาชิกอาเซียน
3 ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) Value added ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) INNOVATION ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)
ภาคเอกชนไทยควรเตรียมความพร้อมอย่างไรภาคเอกชนไทยควรเตรียมความพร้อมอย่างไร 31
32 มาตรการรองรับผลกระทบของภาครัฐ
33 DTN & การเตรียมการรองรับ AEC AEC Information Center/ SMEs Advisory Center AEC Network E-learning AEC สัญจร AEC Focus
34 ขอบคุณ “เรียนรู้ ใส่ใจ ใช้ประโยชน์ AEC” Call Center : 0-2507-7555 www.dtn.go.th