350 likes | 515 Views
ทบทวน. ทบทวน. มาตรฐาน ๔๗ ให้มีระบบประกันคุณภาพ การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ การประกันคุณภาพภายใน และ การประกันคุณภาพภายนอก. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาประกอบด้วยระบบย่อย ๓ ระบบ. คือ ระบบการพัฒนาคุณภาพ
E N D
ทบทวน ทบทวน มาตรฐาน ๔๗ ให้มีระบบประกันคุณภาพ การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ การประกันคุณภาพภายใน และการประกันคุณภาพภายนอก
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาประกอบด้วยระบบย่อย ๓ ระบบ • คือ ระบบการพัฒนาคุณภาพ • ระบบการตรวจติดตามคุณภาพ • ระบบการประเมินคุณภาพภายในและภายนอก
ระบบการประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วย การพัฒนาคุณภาพการติดตามคุณภาพและการประเมินภายใน ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามกฎกระทรวงและมาตรา ๔๘
มาตรา๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่า การประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารสถานศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
โดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับ การประกันคุณภาพภายนอก
รายงานประจำปีในระบบประกันคุณภาพภายใน รายงานประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษา * มีการตรวจสอบโดยสาธารณชน* ข้อติชมย่อมนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ* ความโปร่งใสย่อมนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน
มาตรา ๔๙ให้ สมศ.ที่เป็นองค์การมหาชนทำการประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษาไทยโดยคำนึงถึงความมุ่งหมายและหลักการ และแนวทางการจัดการศึกษาในแต่ละระดับตามที่กำหนดไว้
“สมศ. ต้องมีคำตอบว่าสถานศึกษาใดที่ได้หรือไม่ได้ตามมาตรฐานพร้อมชี้แนะการพัฒนาสู่มาตรฐาน”
มาตรา ๕๑ ถ้าผลประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไม่ได้มาตรฐานให้ สมศ. ทำข้อเสนอแนะแก้ไขปรับปรุง เสนอต่อต้นสังกัด เพื่อให้สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่กำหนด หากมิได้ดำเนินการให้ สมศ.รายงานต่อคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา หรือคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อดำเนินการให้มีการปรับปรุงแก้ไข
ผลประเมินสถานศึกษาอาชีวศึกษาที่ได้รับการประเมินภายนอกรอบสองระหว่างปี พ.ศ.2549-2551 จำนวนอาชีวศึกษา 499 แห่ง
ผลการประเมิน รอบที่ 2 (พ.ศ.2549-2551 ) ข้อมูล ณ วันที่ 2009-10-08
ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบในการปรับปรุงแก้ไข + ปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ต้นสังกัดมีหน้าที่กำกับดูแลให้มีการปรับปรับปรุงแก้ไขตามข้อแนะนำของ สมศ.
สมศ. เป็นผู้ให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไข เสนอต่อต้นสังกัดและคณะกรรมการ
สมศ.ต้องติดตามว่าสถานศึกษาได้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนดหรือไม่สมศ.ต้องติดตามว่าสถานศึกษาได้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนดหรือไม่
ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาในอนาคต
ระยะที่ 1 รูปแบบกัลยาณมิตร การประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
การประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อพัฒนาโดยให้สถานศึกษาประเมินตนเองอย่างแม่นยำ ทั้งในสายตาของตนเอง (SAR) และในสายตาของรัฐบาล จากนักวิชาการและสาธารณชนซึ่งแทนโดย สมศ. (EAR=External Assessment Report) เป็นการประเมินภายนอกระยะที่ 1 (2543-2548)
ระยะที่ 2 การประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อพัฒนาโดยการรับรองมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เป็นการประเมินภายนอกระยะที่ 2 (2549-2553) เป็นการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อพัฒนาโดยการจัดระดับ (Rating) และหรือจัดอันดับ (Ranking)
แนวคิดการประเมินคุณภาพภายนอกรอบต่อไปแนวคิดการประเมินคุณภาพภายนอกรอบต่อไป ระยะที่ 3 สมศ.มีอำนาจหน้าที่รับรองมาตรฐานการศึกษาได้(มาตรา 51)
แนวคิดการประเมินคุณภาพภายนอกรอบต่อไปแนวคิดการประเมินคุณภาพภายนอกรอบต่อไป - ประเมินในระดับสถาบัน และระดับสาขาวิชา - ผลการรับรองมาตรฐาน บอกว่าผ่าน/ไม่ผ่าน - วิธีการรับรองมาตรฐาน เช่น รับรอง รับรองแต่มีเงื่อนไข จะรับรองเมื่อปรับปรุงตามเงื่อนไข ไม่รับรอง
ประเด็นที่ 1 เน้นผลผลิตและผลลัพธ์จากการจัดการศึกษา ซึ่งหมายถึง คุณภาพผู้เรียน
ประเด็นที่ 2 การประเมินคุณภาพผู้เรียนด้านความดี และความสุขให้ พิจารณาจากกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ส่วนความสามารถใช้ผลจากการทดสอบระดับชาติ ประเด็นที่ 3 วิธีการประเมินให้ประเมินแบบอิงเกณฑ์ ประเด็นที่ 4 กำหนดให้การประกันคุณภาพภายในเป็นมาตรฐานหนึ่งที่ใช้ในการประเมิน
ใครบ้างต้องเตรียมตัวเพื่อรองรับการประเมินใครบ้างต้องเตรียมตัวเพื่อรองรับการประเมิน ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าฝ่าย/หัวหน้างาน/ครูผู้สอน/เจ้าหน้าที่ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคนรับผิดชอบในส่วนของงานที่ปฏิบัติและได้รับมอบหมายตามหน้าที่
เราต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้างเพื่อรองรับการประเมินเราต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้างเพื่อรองรับการประเมิน • สิ่งที่ต้องเตรียมการเบื้องต้น • ข้อมูลนักเรียน • ข้อมูลครู และบุคลากร • ข้อมูลทรัพยากรและงบประมาณ • ข้อมูลชุมชน • ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ในชุมชน • เกียรติยศ ชื่อเสียง และผลงาน/โครงการดีเด่น • ข้อมูลแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติวิทยาลัยฯ
ด้านการบริหารการจัดองค์กร โครงสร้าง บริหารงาน และระบบการบริหารงานอย่างเป็นระบบครบวงจรให้บรรลุเป้าหมายการศึกษา • ข้อมูลแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติวิทยาลัยฯ • มีการจัดองค์กร โครงสร้าง บริหารงาน และระบบการบริหารงานอย่างเป็นระบบ • สถานศึกษามีการบริหารงานเชิงกลยุทธ์ • มีการบริหารงานโดยใช้หลักการมีส่วนร่วม • มีการตรวจสอบ และถ่วงดุล
ด้านส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนในพัฒนาการศึกษาด้านส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนในพัฒนาการศึกษา • มีระบบและกลไกในการส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา • มีกิจกรรมที่ส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา
ด้านหลักสูตรเหมาะสมกับผู้เรียน มีสื่อการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ - มีหลักสูตรและเนื้อหาสาระของหลักสูตรที่เหมาะสม สอดคล้องกับเป้าหมายการศึกษา และความต้องการของผู้เรียน และท้องถิ่น - มีสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสมและเอื้อต่อการเรียนรู้
ด้านบุคลากรครูมีคุณวุฒิ/ความรู้ ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ และมีครูเพียงพอ(งานบุคลากร) ครูที่จบระดับปริญญาตรีขึ้นไป ครูที่สอนตรงตามวิชาเอก/โท ครูได้รับการพัฒนาในวิชาที่สอนไม่ต่ำกว่า 20 ชั่วโมงต่อปี ครูที่ได้สอนตรงกับความถนัด มีจำนวนครูตามเกณฑ์ภาระงานสอน มีครูเพียงพอตามเกณฑ์
ด้านผู้เรียน • ข้อมูลผู้เรียน (ผู้รับผิดชอบงานทะเบียน) • 1. จำนวนผู้เรียนทั้งหมดในแต่ละชั้นปี (ปวช. ปีที่ 1,2 ,3 และ ปวส. ปีที่ 1,2) ที่ลงทะเบียนเรียนในปีการศึกษานั้น • 2. จำนวนผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์การพ้นสภาพ แต่ละชั้นปีตามประเภทวิชาสาขาวิชา และสาขางาน • 3. ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์การพ้นสภาพ แต่ละหลักสูตรตามประเภทวิชา สาขาวิชา และสาขางาน ทุกชั้นปี
การจัดกิจกรรม/โครงการที่เกี่ยวกับผู้เรียน • (ผู้รับผิดชอบงานกิจกรรม) • 1. จำนวนผู้เรียนทั้งหมดแต่ละชั้นปี ตามประเภทวิชา สาขาวิชา และสาขางาน • 2. จำนวนผู้เรียน แต่ละชั้นปี ตามประเภทวิชา สาขาวิชา และสาขางานที่มีพฤติกรรม 3 ด้าน • 2.1 คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีงาม ได้แก่ การปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับของวิทยาลัย เช่น การแต่งกายตามระเบียบ การเข้าแถวหน้าเสาธง ไม่ทุจริตในการสอบ ไม่ลักขโมย ไม่เกี่ยวข้องกับสารเสพติดและการพนัน เป็นต้น ฯลฯ
มาตรฐานการอาชีวศึกษามาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสำหรับวิทยาลัยเทคนิค พัฒนาขึ้นภายใต้มาตรฐานการอาชีวศึกษา ที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2549 ใช้เป็นแนวทางใน การดำเนินการจัดอาชีวศึกษาในสถานศึกษาให้เกิดคุณภาพ และใช้กำกับติดตาม ตรวจสอบการ ดำเนินงาน รวมทั้งการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบด้วย 7 มาตรฐาน 43 ตัวบ่งชี้ได้ที่งานประกันคุณภาพ www.kpt.ac.th