160 likes | 384 Views
PA 600. ส่วนของ อ ไพโรจน์ 1. ปรัชญาแนวคิด การจัดการภาครัฐ 2. การจัดการภาครัฐ vs การพัฒนาประเทศ 3. การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM). PA 600. Model : หมายถึง ตัวแบบ หรือ รูปแบบที่สร้างขึ้นมาบนพื้นฐานของหลาย ๆ ทฤษฎีเพื่อช่วยสร้างความเข้าใจในปัญหาเฉพาะเรื่อง Paradigm : หมายถึง
E N D
PA 600 ส่วนของ อ ไพโรจน์ 1. ปรัชญาแนวคิด การจัดการภาครัฐ 2. การจัดการภาครัฐ vs การพัฒนาประเทศ 3. การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) MPA 10 – PA 600
PA 600 Model : หมายถึง ตัวแบบ หรือ รูปแบบที่สร้างขึ้นมาบนพื้นฐานของหลาย ๆ ทฤษฎีเพื่อช่วยสร้างความเข้าใจในปัญหาเฉพาะเรื่อง Paradigm : หมายถึง ทัศนะแม่บท กรอบความคิด กรอบการมอง กรอบอ้างอิง ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของสิ่งใด ๆ ที่เป็นสิ่งยึดถือปฏิบัติร่วมกันของสังคม MPA 10 – PA 600
ปรัชญาแนวคิด การจัดการภาครัฐ ผลลัพธ์สุดท้าย รัฐ/เอกชน -ประโยชน์สาธารณะ /ผลกำไร -คุณภาพชีวิตที่ดี / รับผิดชอบสังคม • อยู่ดีกินดี / ผลิตภาพ • มั่นคง ปลอดภัย / นวตกรรม • เจริญก้าวหน้า / ความพึงพอใจ • เสรีภาพ /ความเป็นธรรมต่อผู้อื่น • การก้าวทันเทคโน / ความทันสมัย หลักการพื้นฐาน รัฐ/เอกชน -ธรรมาภิบาล /บรรษัทภิบาล -ประสิทธิภาพ / ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล / ประสิทธิผล ความเสมอภาค / การแข่งขัน ความเป็นธรรม / เสรีภาพทางธุรกิจ การกระจายอำนาจ/ความได้เปรียบ การบูรณาการ / การปรับปรุง พัฒนา MPA 10 – PA 600
ปรัชญาแนวคิด การจัดการภาครัฐ อุปสรรค ค่านิยมที่เป็นอุปสรรค : อำนาจ วัตถุนิยม ผลประโยชน์ทับซ้อน MPA 10 – PA 600
Conflict of Interest แสวงหาผลประโยชน์ให้ตัวเอง รับสินบน สินน้ำใจ ใช้อิทธิพลเหนี่ยวนำ ใช้ทรัพย์สินของบริษัท ใช้ข้อมูล ข่าวสารที่เป็นความลับ ลาออก แล้วสร้างบริษัทแข่ง ลาออก แล้วไปอยู่คู่แข่ง MPA 10 – PA 600
การจัดการภาครัฐ vs การพัฒนาประเทศ Input : ปัจจัยนำเข้า 3M (man,money,material) Process : กระบวนการ กิจกรรมบริหาร Output : ปัจจัยส่งออก สินค้าและบริการ Feedback MPA 10 – PA 600
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) แนวคิด จำกัดการขยายตัวของภาครัฐ โดยการลดบทบาทของภาครัฐในการจัดบริการสาธารณะ อันเป็นผลการจากความก้าวหน้าทาง IT, MIS MPA 10 – PA 600
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) บทบาทในนักบริหาร ( 4C3S FN ) C = Coach/Consultant เป็นที่ปรึกษา C = Coordinator เป็นผู้ประสานงาน C = Catalyst for change กระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลง C = Communicator เป็นนักสื่อสาร S = Strategist เป็นนักคิด นักยุทธศาสตร์ S = Strategic Director เป็นผู้กำกับ MPA 10 – PA 600
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) บทบาทในนักบริหาร ( 4C3S FN ) S = Synergist ผู้เชื่อมความสัมพันธ์ F = Facilitator ผู้อำนวยความสะดวก N = Negotiator นัเกเจรจา ต่อรอง MPA 10 – PA 600
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) กระบวนทัศน์ในการจัดการภาครัฐ 1. โครงสร้าง - แบบเก่า ขนาดใหญ่ รวมศูนย์ - แบบใหม่ จิ๋วแต่แจ๋ว Network 2. ระบบจัดการ – แบบเก่า สั่งการ ยึดกฏระเบียบ - แบบใหม่ บูรณาการ เน้นผลสัมฤทธิ์ 3. คุณค่า - แบบเก่า อำนาจอุปถัมภ์นิยม - แบบใหม่ จริยธรรม ธรรมาภิบาล 4. ตอบสนอง - แบบเก่า นาย - แบบใหม่ ผู้รับบริการ MPA 10 – PA 600
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) หลักสำคัญ มุ่งผลผลิต 7. ระบบสัญญาจ้าง วัดผลการปฏิบัติงาน 8. เน้นลูกค้า การจัดการแบบเอกชน 9. ปรับปรุงระบบบัญชี ตรวจสอบบทบาทของรัฐ 10. จิตสำนึกรับผิดชอบ กระจายอำนาจ 11. โปร่งใส ส่งเสริมการแข่งขัน 12. การมีส่วนร่วม MPA 10 – PA 600
เปรียบเทียบ แบบเดิม • นำสู่เสมอภาค เป็นธรรม • ผู้บริหารยึดหลักธรรมาภิบาล การเมืองยึดผลประโยชน์ ปชช • สนใจการเปลี่ยนแปลงทางสังคม • แก้ปัญหาสาธารณะและตอบสนอง ปชช แบบเดิม จนท รัฐขาดจริยธรรม ขาดแนวคิดใหม่ ๆ ไม่สนใจการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ไม่สามารถแก้ปัญหาสาธารณะได้ ไม่สามารถตอบสนองความต้องการ ปชช MPA 10 – PA 600
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) การจัดการภาครัฐบนพื้นฐานการตลาด โดย Osborne and Gaebler เน้นบทบาทผู้ประกอบการ อยู่บนพื้นฐานกลไกตลาด เปลี่ยนบทบาทจาก ผู้ปฏิบัติ เป็น ผู้กำกับดูแล เปลี่ยนจากให้ความสำคัญ สินค้า เป็น ลูกค้า MPA 10 – PA 600
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) จิตวิญญาณผู้ประกอบการ ( 4C2M READ ) C = Catalytic Gov กระตุ้นความคิด C = Community Gov เน้นความร่วมมือชุมชน C = Competitive Gov ใฝ่รู้ อาสา แข่งขัน C = Customer Driven Gov ให้ความสำคัญกับลูกค้า M = Mission Driven Gov ปณิธานมุ่งมั่น M = Market Oriented Gov พัฒนาโดยใช้กลไกตลาด MPA 10 – PA 600
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) จิตวิญญาณผู้ประกอบการ ( 4C2M READ ) R = Results Orient Gov มุ่งผลสัมฤทธิ์ E = Enterprising Gov คิดค้น แสวงหาหนทางใหม่ A = Anticipatory Gov คาดหมายเชิงรุก หวังผล D = Decentralized Gov กระจายอำนาจ MPA 10 – PA 600
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) องค์ประกอบของธรรมาภิบาล ( คุณ นิติ คุ้ม โปร่ง ร่วม รั้บผิด ) หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า MPA 10 – PA 600