250 likes | 446 Views
การพยากรณ์การเกิดโรคเรื้อน ประเทศไทย พ.ศ. 2556. สถาบันราชประชาสมาสัย. ความสำคัญ. ความชุกโรคต่ำ ลำดับความสำคัญของโรคลดลงในทุกระดับ แพทย์ & เจ้าหน้าที่สาธารณสุขขาดความตระหนัก & ทักษะ ประชาชนขาดความตระหนัก ความล่าช้าในการตรวจวินิจฉัย. วัตถุประสงค์. เพื่อประเมินความเสี่ยงของการเกิด
E N D
การพยากรณ์การเกิดโรคเรื้อน ประเทศไทย พ.ศ. 2556 สถาบันราชประชาสมาสัย
ความสำคัญ ความชุกโรคต่ำ • ลำดับความสำคัญของโรคลดลงในทุกระดับ • แพทย์ & เจ้าหน้าที่สาธารณสุขขาดความตระหนัก & ทักษะ • ประชาชนขาดความตระหนัก • ความล่าช้าในการตรวจวินิจฉัย
วัตถุประสงค์ • เพื่อประเมินความเสี่ยงของการเกิด โรคเรื้อนรายอำเภอ ในปี พ.ศ. 2556
วิธีการศึกษา • ระบาดวิทยาเชิงพรรณนา • Risk analysis matrix • ประเมินผลการพยากรณ์ • Screening
เครื่องมือ • ข้อมูลโรคเรื้อนจากระบบรายงานของ สถาบันราชประชาสมาสัย ปีพ.ศ. 2527-2554 • 2. ข้อมูลประชากร จากสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง ปีพ.ศ. 2527-2554
สถานการณ์โรคเรื้อนในประเทศไทยตั้งแต่ปี 2527-2554 อัตรา 1 ต่อประชากร 10 000 คน MDT Implementation (2527) PR 8.9 Achieving Elimination Goal (2537) DR 0.7 0. 11 0.04 ปี พ.ศ.
จำนวนผู้ป่วยใหม่ และอัตราการตรวจพบผู้ป่วยใหม่ ตั้งแต่ปี 2538-2554 อัตราการค้นพบผู้ป่วยใหม่ ต่อประชากร 100,000 คน จำนวน(คน) ปี พ.ศ.
สัดส่วนผู้ป่วยใหม่ที่เป็นเด็ก (0-14 ปี)ปี 2527-2554 %
จำนวน และสัดส่วนผู้ป่วยใหม่ที่มีความพิการระดับ 2 ตั้งแต่ ปี 2543-2554 จำนวน ร้อยละ พ.ศ.
การกระจายของผู้ป่วยโรคเรื้อน จำแนกรายภาค ปี 2554 เหนือ 13%(90 คน) เหนือ 17 %(47 คน) กลาง 14 %(91 คน) กลาง 12 %(34 คน) ตะวันออกเฉียงเหนือ 51 %(142 คน) ตะวันออกเฉียงเหนือ 52 %(353 คน) ใต้ 20%(57คน) ใต้ 21 %(144 คน) ผู้ป่วยในทะเบียนรักษา 678 คน (ณ 31 ธันวาคม 2554) ผู้ป่วยใหม่ 280 คน (ตั้งแต่ 1 มกราคม- 31 ธันวาคม 2554)
จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ รายอำเภอปี 2544 จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ รายอำเภอปี 2554 ไม่พบผู้ป่วยใหม่ มี 549 อำเภอ (59.29 %) ไม่พบผู้ป่วยใหม่ มี 744 อำเภอ (80.17 %) พบผู้ป่วยใหม่อำเภอละ 1-2 คน มี285 อำเภอ (30.78 %) พบผู้ป่วยใหม่อำเภอละ 1-2 คน มี162 อำเภอ (17.46 %) พบผู้ป่วยใหม่อำเภอละ 3-4 คน มี 54 อำเภอ (5.83%) พบผู้ป่วยใหม่อำเภอละ 3-4 คน มี 19 อำเภอ (2.05 %) พบผู้ป่วยใหม่อำเภอละตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป มี 38 อำเภอ (4.10%) พบผู้ป่วยใหม่อำเภอละตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป มี 3 อำเภอ (0.32%)
วิธีพยากรณ์การเกิดโรควิธีพยากรณ์การเกิดโรค • Risk analysis matrix • ตัวชี้วัดด้านโอกาส • ด้านความรุนแรง
นิยามตัวชี้วัด โอกาสการเกิดโรคเรื้อน ผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน (House-hold contact) • ผู้สัมผัสโรคร่วมบ้านของผู้ป่วยประเภทเชื้อมาก (Multibacillary leprosy: MB) มีความเสี่ยงในการเกิดโรค 5 – 8 เท่า • ผู้สัมผัสโรคร่วมบ้านกับผู้ป่วยประเภทเชื้อน้อย (Paucibacillary leprosy: PB) มีความเสี่ยงในการเกิดโรค 2 เท่า ความรุนแรงของการเกิดโรคเรื้อน พื้นที่ที่มีรายงานการตรวจพบผู้ป่วยโรคเรื้อนใหม่ ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา 1. ผู้ป่วยใหม่ที่เป็นเด็ก (อายุต่ำกว่า 15 ปี) ปีใดปีหนึ่ง ในรอบ 5 ปี 2. จำนวนปีที่พบผู้ป่วยใหม่ ในรอบ 5 ปี 3. จำนวนผู้ป่วยใหม่ที่พบ ในรอบ 5 ปี
ตารางที่ 1 ตัวชี้วัดและเกณฑ์ของโอกาสและความรุนแรงของการเกิดโรคเรื้อน ตัวชี้วัดด้านโอกาส ตัวชี้วัดด้านความรุนแรง
ตารางที่ 2 แสดงการให้คะแนนความเสี่ยงของแต่ละพื้นที่ น้อย 1-9 คะแนน ปานกลาง 10-19 คะแนน มาก 20-25 คะแนน
อำเภอที่มีความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อนอำเภอที่มีความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อน ปี 2556 569อำเภอ (61%จาก 928 อำเภอ) อำเภอที่มีความเสี่ยงน้อย มี 423 อำเภอ (45.58%) อำเภอที่มีความเสี่ยงปานกลาง มี 79 อำเภอ (8.51%) อำเภอที่มีความเสี่ยงมาก มี 67 อำเภอ (7.22%) 77 จังหวัด 928 อำเภอ
ตารางที่ 3 มาตรการการดำเนินงานตามพื้นที่ที่มีความเสี่ยง การเกิดโรคเรื้อน ปี 2556
อำเภอที่มีความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อนปี 2554 626อำเภอ (67%จาก 928 อำเภอ) อำเภอที่มีความเสี่ยงน้อย มี 436 อำเภอ (46.98%) อำเภอที่มีความเสี่ยงปานกลาง มี 105 อำเภอ (11.31%) เสี่ยงสูง 190 อำเภอ อำเภอที่มีความเสี่ยงมาก มี 85 อำเภอ (9.16%) 77 จังหวัด 928 อำเภอ
ตารางที่ 4 การพยากรณ์ความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อน และจำนวนอำเภอที่ค้นพบผู้ป่วยใหม่ในปี พ.ศ. 2554 ความไว (Sensitivity) = 82/160*100 = 51.25 % ค่าพยากรณ์บวก (Predictive value of positive) = 82/190*100 = 43.16 %
ตารางที่ 5 การเปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยใหม่ที่ค้นพบในพื้นที่ที่มีความเสี่ยง การเกิดโรคเรื้อนสูงกับพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่ำ ปีพ.ศ. 2554
สรุป • ผลการพยากรณ์ความเสี่ยงในการเกิดโรคเรื้อน ปี 2554 • Sensitivity เพียงแค่ 51.25% • Predictive value of positive เท่ากับ 43.16% • แต่ใน 20.47% ของอำเภอที่มีความเสี่ยงสูง สามารถพบผู้ป่วยใหม่ได้ถึง 60.24% • จึงถือว่าการพยากรณ์พื้นที่ความเสี่ยงนี้ มีความน่าเชื่อถือเพียงพอที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการชี้เป้าหมายเพื่อการดำเนินงานเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนที่เหมาะสมกับสถานการณ์ของโรคเรื้อนที่ต่ำลง
ข้อจำกัด • รายงานผู้ป่วยใหม่ (New case) • การตรวจพบผู้ป่วย (Case Detection) • ไม่ใช่อุบัติการณ์ของโรค (Incidence) • Case Detection ก็ขึ้นอยู่กับกิจกรรมการดำเนินงาน • ระยะฟักตัวของโรคยาวนานขึ้น ตั้งแต่ 3 – 12 ปี