370 likes | 541 Views
สถานการณ์ไข้เลือดออก ประเทศไทย (ข้อมูลถึงวันที่ 30 เมษายน 2556 ). สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ปี 2556 จำนวนผู้ป่วยสะสม DHF+DF+DSS ณ วันที่ 30 เม.ย. 56 ( สัปดาห์ที่ 17) จำนวนผู้ป่วย 26,067 ราย จำนวนผู้ป่วยตาย 33 ราย อัตราป่วยต่อแสนประชากร 40.68 อัตราตายต่อแสนประชากร 0.05
E N D
สถานการณ์ไข้เลือดออก ประเทศไทย (ข้อมูลถึงวันที่ 30 เมษายน2556)
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ปี 2556 จำนวนผู้ป่วยสะสม DHF+DF+DSS ณ วันที่ 30 เม.ย.56 (สัปดาห์ที่ 17) • จำนวนผู้ป่วย26,067ราย • จำนวนผู้ป่วยตาย33ราย • อัตราป่วยต่อแสนประชากร40.68 • อัตราตายต่อแสนประชากร0.05 • อัตราป่วยตาย (ร้อยละ) 0.13
จังหวัด TOP 10 โรคไข้เลือดออก ปี 2556 (30 เมษายน 2556)
สถานการณ์ไข้เลือดออก เขต 12 (ข้อมูลถึงวันที่ 30 เมษายน2556)
สรุปสถานการณ์โรคไข้เลือดออกปี 2555(30 เมษายน 2556)
สถานการณ์ไข้เลือดออก เขต 12
สถานการณ์ไข้เลือดออก เขต 12 (สะสม)
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดสงขลา
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดสตูล
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดตรัง
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดพัทลุง
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดปัตตานี
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดยะลา
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดนราธิวาส
ผลการสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลายผลการสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลาย ในพื้นที่ เทศบาลนครเทศบาลเมือง ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ เมษายน 2556
ร้อยละของหลังคาเรือนที่พบลูกน้ำยุงลาย (HI) จำแนกตามลักษณะชุมชน
ร้อยละของชนิดภาชนะที่พบลูกน้ำยุงลาย (CI) ชุมชนแออัด
ร้อยละของชนิดภาชนะที่พบลูกน้ำยุงลาย (CI) ชุมชนพานิชย์
ร้อยละของชนิดภาชนะที่พบลูกน้ำยุงลาย (CI) ชุมชนที่อยู่อาศัย
Theme รณรงค์ไข้เลือดสาธารณสุขเขต 12 “5 ป. 1 ข.” 1. ป. ปิดภาชนะ น้ำกินน้ำใช้ให้มิดชิดหลังการตัดใช้น้ำทุกครั้ง เพื่อป้องกันยุงลายลงไปวางไข่ 2. ป. เปลี่ยนน้ำในแจกัน ถังเก็บน้ำทุก 7 วัน เพื่อตัดวงจรลูกน้ำที่จะกลายเป็นยุง 3. ป. ปล่อยปลากินลูกน้ำในภาชนะใส่น้ำถาวร เช่น อ่างบัว ถังซีเมนต์เก็บน้ำขนาดใหญ่
Theme รณรงค์ไข้เลือดสาธารณสุขเขต 12 “5 ป. 1 ข.” 4. ป. ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้ปลอดโปร่ง โล่ง สะอาด ลมพัดผ่าน ไม่เป็นที่เกาะพักของยุงลาย และ 5. ป.ปฏิบัติ เป็นประจำจนเป็นนิสัย ส่วน 1 ข. ได้แก่ ขัดไข่ยุงลาย
มติ คณะรัฐมนตรี เรื่อง การควบคุมและป้องกันการระบาดใหญ่ของไข้เลือดออก ปี 2556 เมื่อวันที่ 12 มีนนาคม 2556
คณะรัฐมนตรีมีมติมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมดําเนินการป้องกันโรคไข้เลือดออกก่อนการ ระบาดในฤดูฝนในส่วนที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามอํานาจหน้าที่ของแต่ละหน่วยงานที่จะดําเนินการและเป็นความจําเป็นเร่งด่วน ตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอดังนี้
มอบหมายให้ กระทรวงมหาดไทยกําชับให้ผู้ว่าราชการจังหวัดและผู้นําทุกท้องถิ่น ผู้นำชุมชน รับผิดชอบระดมสรรพกําลังในการทําให้ประชาชนทุกคนลุกขึ้นมากําจัดกวาดล้างทําลายลูกน้ำทุกบ้านอย่างเร่งด่วน โดยเฉพาะตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนมิถุนายน ในพื้นที่รับผิดชอบ มอบหมายให้ กระทรวงศึกษาธิการ กําชับให้ผู้บริหารโรงเรียนทั้งภาครัฐและเอกชน ทุกแห่ง กําหนดให้มี ผู้รับผิดชอบ การกําจัดกวาดล้างทําลายลูกน้ำในทุกอาคาร มอบหมายให้ กระทรวงอุตสาหกรรมขอความร่วมมือไปยังทุกสถานประกอบการให้มีการจัดเวร ยามกําจัดกวาดล้างทําลายลูกน้ำในทุกอาคารและที่พัก
4. มอบหมายให้ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาขอความร่วมมือเจ้าของโรงแรมและรีสอร์ท เอาใจใส่ให้มีการกําจัดกวาดล้างทําลายลูกน้ําในทุกอาคารและบริเวณโดยรอบของโรงแรม 5. มอบหมายให้ กรมประชาสัมพันธ์สนับสนุนให้มีการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อทุกช่องทาง ในการให้ความรู้แก่ประชาชนในการดูแลบ้านเรือนและอาคารค้าขายมิให้มีลูกน้ำในภาชนะต่างๆ 6. มอบหมายให้ ทุกกระทรวงรับผิดชอบการดําเนินงานตามบริบทของตนเอง
มาตรการ การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 1. การประเมินผลการกำจัดน้ำยุงลายในชุมชน โดย SRRT ระดับตำบล ทำการสำรวจ 10-15 หลังคาเรือน * พบ 1 หลังคาเรือน ทำเฉพาะบ้านที่พบ * พบ 2 หลังคาเรือนหยุดสำรวจ รณรงค์ ทั้งหมู่บ้าน 2. การใช้ยาทากันยุง ในระยะ Viremia คือ ระยะที่มีอาการไข้ * ผู้ป่วยใน : ทุกราย และ คนดูแลผู้ป่วย * ผู้ป่วยนอก : ในรายที่สงสัยไข้เลือดออก 3. การเปิด War room ระดับอำเภอ : พบผู้ป่วยใน 3 ตำบล ติดต่อกัน 2 สัปดาห์ 4. SRRT ออกสอบสวนโรค กรณีรายแรก (Index case) ของหมู่บ้านใน period 28 วัน
มาตรการ การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 5. SRRT สอบสวนและควบคุมโรค ภายใน 24 ชม. หลังจากได้รับแจ้ง 6. SRRT ตำบลเฝ้าระวังเหตุการณ์แจ้งข่าวแก่ รพ.สต.เมื่อพบผู้ป่วยในชุมชนที่ไม่เข้าระบบเฝ้าระวัง รง. 506 7. พบผู้ป่วย 2 รายใน Period เดียวกัน พ่นครอบคลุมทั้งหมู่บ้าน 8. รัศมี 100 เมตรรอบบ้านผู้ป่วย : ใช้ทรายทีมีฟอส ในการกำจัดลูกน้ำ 9. ให้มีการรณรงค์โรคไข้เลือดออก โดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เนื่องในวัน อสม. - ครั้งที่ 1 วันที่ 10-17 มี.ค. 56 - ครั้งที่ 2 วันที่ 20-27 เม.ย. 56 - ครั้งที่ 3 วันที่ 10-17 พ.ค. 56 - ครั้งที่ 4 วันที่ 10-17 มิ.ย. 56
จังหวัด TOP 10 โรคไข้เลือดออกปี 2556(30 เมษายน 2556)