520 likes | 883 Views
ทิศทางการดำเนินงาน ทันต สาธารณสุข ปี 2557. ทพ. สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการสำนัก ทันต สาธารณสุข 8 ตุลาคม2556. ประเด็นการบรรยาย. บริบทที่เปลี่ยนไป งานทันตสาธารณสุขปี 2557 : สถานการณ์และกิจกรรมสำคัญ
E N D
ทิศทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปี 2557 ทพ.สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการสำนักทันตสาธารณสุข 8 ตุลาคม2556
ประเด็นการบรรยาย • บริบทที่เปลี่ยนไป • งานทันตสาธารณสุขปี 2557 : สถานการณ์และกิจกรรมสำคัญ • ทิศทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปี 2557-2559 : ภารกิจ ตัวชี้วัดงานทันตสาธารณสุข การพัฒนาเทคโนโลยีและการสนับสนุน • ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข
1. บริบทที่เปลี่ยนไป - การทำงานของกระทรวงสาธารณสุข- ระบบสาธารณสุขประเทศไทย (4 ระบบ)- บทบาทกระทรวงสาธารณสุข (11 บทบาท+เขตสุขภาพ)- โครงสร้าง สป. (3 cluster)- KPI กระทรวงสาธารณสุข (3 ยุทธศาสตร์)- แผนสุขภาพเขต 25 แผน
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงการทำงานกระทรวงสาธารณสุขข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงการทำงานกระทรวงสาธารณสุข คณะกรรมการนโยบายระบบสาธารณสุข(PHSPB) กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานรัฐมนตรี สำนักงานบริหารยุทธศาสตร์/ยกระดับ สนย. สำนักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์ กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการสาธารณสุข กลุ่มภารกิจด้าน สนับสนุนงานบริการสุขภาพ คณะกรรมการ เขตสุขภาพ(AHB) • หน่วยงานในกำกับ : • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข • สำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ • สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ • สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ • สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ • องค์การมหาชน : • โรงพยาบาลบ้านแพ้ว • สถาบันรับรองคุณภาพ • สถานพยาบาล • รัฐวิสาหกิจ : • องค์การเภสัชกรรม 4
(4 ระบบ) การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระทรวงสาธารณสุข บรรยาย โดยนพ.ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ 11 กันยายน 2556
ข้อเสนอพัฒนา(ปฏิรูป)บทบาทกระทรวงสาธารณสุขข้อเสนอพัฒนา(ปฏิรูป)บทบาทกระทรวงสาธารณสุข 1.ระบบบริการสุขภาพ 2.ระบบการสร้างเสริม สุขภาพ แพทย์ แผนไทย สบส. สุขภาพจิต อนามัย สป. กรมแพทย์ อย. วิทย์ฯ ควบคุมโรค 4. ระบบยาและการคุ้มครองผู้บริโภค 3. ระบบการควบคุมและป้องกันโรค 11 บทบาท+ เขตสุขภาพ
ข้อเสนอพัฒนา(ปฏิรูป)บทบาทกระทรวงสาธารณสุขข้อเสนอพัฒนา(ปฏิรูป)บทบาทกระทรวงสาธารณสุข 1.ระบบบริการสุขภาพ 2.ระบบการสร้างเสริม สุขภาพ แพทย์ แผนไทย สบส. สุขภาพจิต อนามัย สป. กรมแพทย์ อย. วิทย์ฯ ควบคุมโรค 4. ระบบยาและการคุ้มครองผู้บริโภค 3. ระบบการควบคุมและป้องกันโรค 11 บทบาท+ เขตสุขภาพ
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ข้อเสนอโครงสร้างแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มตรวจสอบภายใน 3 CLUSTER กลุ่มภารกิจด้านสนับสนุน กลุ่มภารกิจด้านยุทธศาสตร์ กลุ่มภารกิจด้านประสานบริการ สำนักพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข สำนักตรวจและประเมินผล สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ (บทบาทระดับชาติ/กระทรวง/สป.) สำนักบริหารกลาง สำนักการพยาบาล • IHPP , HITAP - กลุ่มบริหารทั่วไป - กลุ่มคลังและพัสดุ - กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม สำนักวิชาการ สำนักพัฒนานโยบายการคลังและเศรษฐกิจสุขภาพ (CFO กลาง) สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักบริหารงานบุคคล สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำลังคนด้านสุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมพัฒนากฎหมายเพื่อสุขภาพ สำนักการคลังเขตสุขภาพ (CFO ระดับเขต) สำนักการสาธารณสุขระหว่างประเทศ สบช./วนส./แก้วกัลยา/สบพช. สำนักส่งเสริมและสนับสนุน อาหารปลอดภัย ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศฯ สำนักงานสาธารณสุขเขต 1-12 สำนักสารนิเทศ ศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หน่วยงานที่ตั้งเป็นการภายใน สป. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ • ศูนย์ประสานการแก้ปัญหาข้อร้องเรียน • - ศูนย์สันติวิธีสาธารณสุข • - กลุ่มกระจายอำนาจ, อื่นๆ AREA HEALTH BOARD
KPI กระทรวงสาธารณสุข เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557
2. งานทันตสาธารณสุขปี 2557 - สถานการณ์ทันตสุขภาพตามตัวชี้วัดสำคัญ- มาตรการตามกลุ่มวัย
1.1แนวโน้มฟันผุในเด็ก 3 และ 5ปี (2532-2555)
1.2 ร้อยละการเกิดโรคฟันผุ ในเด็กอายุ 12 ปี (ปราศจากฟันผุ เพิ่มขึ้น เป็น ร้อยละ 47) ฟันผุระยะเริ่มต้น 19.37%
1.3 ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด ในเด็กอายุ 12 ปี
1.4 ร้อยละเด็กไม่ดื่มน้ำหวานและน้ำอัดลม
1.5 ร้อยละของวัยทำงานและผู้สูงอายุที่มีฟันใช้งาน 20 ซี่ขึ้นไป เป้าหมายปี 2558 ผส.ร้อยละ 60 (95.6-99.1) (46.7-69.8) การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติ สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย
1.6 ร้อยละผส.ที่สูญเสียฟันทั้งปากและความจำเป็นต้องใส่ CD (3.7-11.2) 8.2 % 7.2 % 5.3 % (1.6-4.1) 2.5 % การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติ สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย
มาตรการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากตามกลุ่มวัยมาตรการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากตามกลุ่มวัย
2.1 เด็กเล็ก Amid I Ismail, 1998
กิจกรรมสำคัญ • 1. หญิงมีครรภ์ - ตรวจ แนะนำควบคุม plaque +บริการที่จำเป็น- หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการ ช่วยป้องกัน preterm 2. เด็ก 0-2 ปี - การตรวจช่องปาก(คำแนะนำ) - ผู้ปกครอง ได้ฝึกแปรงฟัน - เด็กเสี่ยงฟันผุได้ทา fluoride varnish (plaque, white lesion, decay) 3. เด็ก 3-5 ปี - แปรงฟันทั่วทั้งปากด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์ ที่ศพด./รร.อนุบาล และที่บ้านทุกวัน - ควบคุมอาหารหวาน จัดผลไม้ จัดอาหารเช้า - ตรวจช่องปากแจ้งผู้ปกครอง / บริการอุดฟันอย่างง่าย
2.2เด็กวัยเรียน ลดการบริโภคอาหารหวาน สร้างทักษะการแปรงฟัน เป้าหมาย สุขนิสัย
กิจกรรมสำคัญ • 1. แปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ • 2. ลดการบริโภคอาหารหวาน : น้ำตาล snack & soft drink • 3. การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก - ตรวจสุขภาพช่องปาก - บริการทันตกรรมป้องกัน :การใช้ฟลูออไรด์เฉพาะที่ การเคลือบหลุมร่องฟัน บริการรักษา
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันโรคเด็กในโรงเรียนกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันโรคเด็กในโรงเรียน - งด/ลดการบริโภคขนมลูกอม และเครื่องดื่ม(น้ำอัดลม และเครื่องดื่มน้ำตาลสูง) - จัดกิจกรรมบูรณาการในหลักสูตร - จัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ - สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรและเครือข่ายให้มีความรู้พื้นฐานในประเด็นสุขภาพช่องปาก - สนับสนุนการจัดบริการทันตสุขภาพ
โครงการหลัก • สพป.อ่อนหวาน/โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม • เครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี • โครงการทันตสุขภาพ ใน กพด. • โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ • โครงการนักเรียนไทยสุขภาพดี • หลักสูตรสถานศึกษา/สุขบัญญัติ
2.3 วัยทำงานและสูงอายุ เป้าหมาย • ผสมผสานการส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูสภาพช่องปาก • บูรณาการกับการดูแลสุขภาพและโรคทางระบบ
ผสมผสานการส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูสภาพช่องปาก Bureau of Dental Health
3. ทิศทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุข - ภารกิจ - ตัวชี้วัดงานทันตสาธารณสุข - การพัฒนาเทคโนโลยีและการสนับสนุน
ทิศทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุขทิศทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปี 2557-2559 เน้นการเพิ่มศักยภาพทันตบุคลากรและภาคีเครือข่าย ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดสภาพแวดล้อม มุ่งสู่ชุมชนเข้มแข็งและการบริการคุณภาพ
ภารกิจ • สร้าง /กำหนดนโยบาย /ตัวชี้วัด • ประเมินเทคโนโลยีและกำหนดมาตรฐาน • จัดหลักสูตรและพัฒนาบุคลากรและสร้างเครือข่าย • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดการความรู้ • จัดระบบเฝ้าระวังและติดตามประเมินผลและ • สร้างฐานข้อมูลสารสนเทศเชื่อมโยงทันตสุขภาพ • ของอาเซียน, โลก
ยุทธศาสตร์ที่2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพฯ(KPI) กระทรวงสาธารณสุข ปี 2557 ตัวชี้วัดงานทันตสาธารณสุข คุณภาพบริการ จำนวน รพ.สต.ที่ให้บริการสุขภาพช่องปาก เพิ่มขึ้นในแต่ละเขตบริการ (ทุกกลุ่มวัย)
ยุทธศาสตร์ที่1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย(KPI) กระทรวงสาธารณสุข และ กรมอนามัย ปี 2557 ตัวชี้วัดงานทันตสาธารณสุข กรมอนามัย (บูรณาการ) 1. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (>85) - ร้อยละเด็กปฐมวัย (3 ปี) มีปัญหาฟันน้ำนมผุ(<57) 2. ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน (<15) - ร้อยละโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม(ควบคุมน้ำหวานและ ขนมกรุบกรอบ)(<75) - ร้อยละของเด็กประถม1 ได้รับการตรวจช่องปาก (85) และเคลือบหลุมร่องฟัน (30)
3. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (<20ต่อประชากรแสนราย) - จำนวนหน่วยบริการที่มีการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากใน กลุ่มวัยทำงานร่วมกับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง 4. ร้อยละของผู้สูงอายุในช่วงอายุ 60-70 ปีเป็นโรคหลอดเลือด สมอง(14.54) - จำนวนหน่วยบริการที่มีการคัดกรองสุขภาพช่องปากในกลุ่ม ผู้สูงอายุ/ผู้พิการร่วมกับการคัดกรองเบาหวานและความดัน ตัวชี้วัด(ต่อ) โครงการเฉลิมพระเกียรติ ฯ- จำนวนผู้สูงอายุและก่อนวัยผู้สูงอายุได้รับบริการใส่ฟันเทียม (35,000 ราย)
ประเมินเทคโนโลยีและกำหนดมาตรฐานประเมินเทคโนโลยีและกำหนดมาตรฐาน • เทคโนโลยีส่งเสริมสุขภาพ&ป้องกันโรคตามกลุ่มวัย • มาตรฐานการดำเนินงานที่บูรณาการตาม Setting • สิ่งแวดล้อมและผลิตภัณฑ์ทันตสุขภาพ
หลักสูตรพัฒนาทันตบุคลากร/ เครือข่าย • การพัฒนาวิชาการ, การศึกษาวิจัย • การพัฒนาผู้นำด้านทันตสุขภาพ (Leadership) • การพัฒนาด้านชุมชน (Community base)
เวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ การจัดการความรู้ • มหกรรมการประชุมวิชาการทันตสาธารณสุขแห่งชาติครั้งที่ 3“ตำบลฟันดีสุขภาพดี” • เครือข่ายฟันเทียมพระราชทานและการส่งเสริมฯ • เครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี • เครือข่ายลูกรักฟันดี • พัฒนาระบบ, เขตสุขภาพ
สื่อสารสาธารณะ • รณรงค์ “คนไทยฟันดี สดุดีสมเด็จย่า” • 21ตุลาคม วันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ • สื่อสารผ่านสื่อต่างๆ
พัฒนาระบบสนับสนุน • การติดตามประเมินผล ตามเขตสุขภาพ • (จัดบุคลากรรับผิดชอบที่ชัดเจน) • สร้าง พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ • - บุคคล • - ชุมชน • - เฝ้าระวัง • - ทรัพยากร
สรุป... ปี 2557 • พัฒนาระบบ ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค • การรักษา/ฟื้นฟูสภาพ/คุ้มครองผู้บริโภค • พัฒนากำลังคน ภาคีเครือข่าย • พัฒนาระบบ/กลไกสนับสนุน
4. ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข
ทุนเดิมที่มีอยู่ มีการพัฒนางานส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มวัยต่างๆ - แม่และเด็ก ..ลูกรักฟันดีเริ่มที่ซี่แรก…ANC/WBC/ศพด. - วัยเรียน ..โรงเรียนต้นแบบ..เครือข่ายโรงเรียน - ผู้สูงอายุ..ฟันเทียม/ชมรมผู้สูงอายุ /บริการป้องกัน ..LTC มีนโยบาย/กฎหมาย/มาตรการที่สนับสนุนงาน - มีการจัดการปัจจัยเสี่ยง ..ฟลูออไรด์/แปรง-ยาสีฟัน/น้ำตาล - รร.ปลอดน้ำอัดลม ขนม มีการพัฒนาระบบและกลไกการทำงาน -กำลังคน..การบริหารงานทันตฯ..ข้อมูลสารสนเทศ Bureau of Dental Health
ทุนเดิมที่มีอยู่ มีการพัฒนาศักยภาพในกระบวนการทำงานกับ ภาคีเครือข่าย • จังหวัดดีเด่น / CUP ดีเด่น / รพ.สต.ดีเด่น • ชมรมผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก • อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ • อสม.ด้านทันตสาธารณสุข มีการพัฒนางานทันตสุขภาพในพื้นที่ - แผนชุมชน..กองทุนสุขภาพตำบล..แผนงานสาธารณสุขของอปท. Bureau of Dental Health
บูรณาการ : “ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข” แนวคิด ☻ประชาชนทุกกลุ่มวัยดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง ☻ ชุมชนมีศักยภาพในการดูแลและจัดการปัญหา ☻ ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมสนับสนุน ☻ ประชาชนทุกกลุ่มวัยเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ • ชุมชนเข้มแข็ง ท้องถิ่นเป็นแกน ภาคีมีส่วนร่วม บริการทั่วถึงมีคุณภาพ Bureau of Dental Health
เป้าประสงค์ • ประชาชนทุกกลุ่มวัย- มีพฤติกรรมดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง - อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ - สามารถเข้าถึงบริการทันตสุขภาพมากขึ้น ทั้งส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู • ชุมชนมีศักยภาพในการดูแลและจัดการปัญหาสุขภาพช่องปากของชุมชนได้อย่างเหมาะสม Bureau of Dental Health
ยุทธศาสตร์ : ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข 1. ชุมชนเข้มแข็ง ท้องถิ่นเป็นแกน สาธารณสุขสนับสนุน 2. สร้างกระแสและขับเคลื่อนสังคม 3. พัฒนาการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก โดยเฉพาะระดับปฐมภูมิ (ครอบคลุม ได้มาตรฐาน คุณภาพ) 4. พัฒนาศักยภาพทันตบุคลากรและภาคีครือข่าย/ แกนนำชุมชน เช่น อสม. ผู้สูงอายุ อผส. ผดด. เป็นต้น เพื่อการดูแลและจัดการปัญหา 5. พัฒนา กลไกการบริหารจัดการ และระบบเฝ้าระวัง สารสนเทศ การติดตามประเมินผล Bureau of Dental Health
กระบวนการดำเนินงานตำบลฟันดีกระบวนการดำเนินงานตำบลฟันดี • รพ.สต.มีบริการส่งเสริมป้องกันในทุกกลุ่มอายุ • ท้องถิ่น (อบจ./อบต./เทศบาล)ให้การสนับสนุน • มีโครงการขับเคลื่อนในพื้นที่ที่ชุมชนมีส่วนร่วม • จังหวัดและ CUP มีระบบสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ Bureau of Dental Health
ผลผลิต 1.นโยบายสาธารณะ 2.สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อทันตสุขภาพ 3.พฤติกรรมเสี่ยงของประชาชนทุกกลุ่มวัยลดลง 4.การเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ทุกกลุ่มวัย 5. นวัตกรรมทันตสุขภาพในท้องถิ่น/ชุมชน Bureau of Dental Health
ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลลัพธ์ -เด็กปราศจากฟันผุ ( caries free) หรือรวมเด็กที่ได้รับการอุดฟันแล้วด้วย -ผู้ใหญ่มีฟันใช้งานได้มากกว่า 20 ซี่ ผลกระทบ - ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตดีขึ้น Bureau of Dental Health
ยุทธศาสตร์ “ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข” • ชุมชนเข้มแข็ง • ท้องถิ่นเป็นแกน • สาธารณสุขสนับสนุน • บริการมีคุณภาพ
รณรงค์ “คนไทยฟันดี สดุดีสมเด็จย่า”21 ตค. วันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ ๗-๘ ตค.๕๖ การประชุมพัฒนานโยบายโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม เพื่อเด็กไทย สุขภาพดี ๑๔ ตค.๕๖ การอบรมนักจัดรายการวิทยุ ๑๗ ตค.๕๖ การประกวด “๑๐ ยอดฟันดี วัย ๘๐ และ ๙๐ปี” ๑๘ ตค.๕๖ การจัดนิทรรศการและพิธีเปิดโครงการ ณ โรงเรียนเทศบาลวัดละหาร อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี ๒๑ ตค.๕๖ รณรงค์จัดบริการทางทันตสาธารณสุขแก่ประชาชนโดยไม่คิดมูลค่า โดยหน่วยบริการสาธารณสุขทุกสังกัดทั่วประเทศ ตลอดเดือนตค.๕๖ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสาธารณะ