1 / 16

สถานการณ์อหิวาตกโรคจังหวัดขอนแก่น 17-11 ก . ย . 2550

สถานการณ์อหิวาตกโรคจังหวัดขอนแก่น 17-11 ก . ย . 2550. ความเป็นมา.

terris
Download Presentation

สถานการณ์อหิวาตกโรคจังหวัดขอนแก่น 17-11 ก . ย . 2550

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถานการณ์อหิวาตกโรคจังหวัดขอนแก่น17-11ก.ย.2550สถานการณ์อหิวาตกโรคจังหวัดขอนแก่น17-11ก.ย.2550 ความเป็นมา • เมื่อวันที่ 23-25กันยายน 2550 สำนักระบาดวิทยาได้รับรายงานสถานการณ์ผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อ Vibrio cholera Eltor Ogawa จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น จำนวน 8 รายและเพิ่มเป็นจำนวน 12 รายในวันที่ 28 กย. 2550 และผลความไวต่อยา Norfloxacin เป็นแบบปานกลาง • รายงานสรุปสถานการณ์ประจำวันตั้งแต่วันที่ 23-30 กันยายน 2550 มีจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 25 ราย ผู้ป่วยรายแรกเริ่มป่วยวันที่ 17 กันยายน 2550 • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น, สำนักป้องกันและควบคุมโรคเขต6 และ SRRT ในพื้นที่ร่วมกันสอบสวนและควบคุมโรคตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน 2550 • สำนักระบาดวิทยาออกติดตามสถานการณ์ร่วมกับทีมในพื้นที่วันที่ 3-11 ตุลาคม 2550

  2. จำนวนผู้ป่วยอหิวาตกโรค จังหวัดขอนแก่น จำแนกตามเดือน เทียบกับค่าเฉลี่ยของ 5 ปีย้อนหลัง

  3. ผลการสอบสวน • จำนวนผู้ติดเชื้อ 229ราย • ผู้ป่วย 165 ราย Passive case= 135 Active case= 30 คิดเป็นอัตราป่วย 9.33 คนต่อแสนประชากร • พาหะ 64 ราย คิดเป็น 27.95% ของผู้ติดเชื้อ • พบผู้ขายอาหาร เป็นผู้ป่วย 9ราย เป็นพาหะ 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.24% (12/229) • ผู้เสียชีวิต 1 ราย CFR = 0.44% (1/165)

  4. จำนวนผู้ป่วย กันยายน ตุลาคม

  5. อัตราป่วยด้วยอหิวาตกโรค ต่อแสนประชากรจังหวัดขอนแก่น จำแนกตามอำเภอ

  6. จำนวนผู้ป่วยอหิวาตกโรค จังหวัดขอนแก่น จำแนกตามเพศและอายุ (n=62)

  7. อัตราป่วยต่อแสนประชากรจำแนกรายตำบล อ.กระนวน จ.ขอนแก่น 17ก.ย.-11ต.ค.50 อัตราป่วยต่อแสนประชากร 261.8

  8. ผลการสอบสวนผู้ป่วยอหิวาตกโรค อ.กระนวน • จำนวนผู้ติดเชื้อ 180 ราย • ผู้ป่วย 127 ราย Passive case= 104 Active case= 23 คิดเป็นอัตราป่วย 157.5 คนต่อแสนประชากร • พาหะ 53 ราย คิดเป็น 29.44% ของผู้ติดเชื้อ • พบผู้ขายอาหาร เป็นผู้ป่วย 1ราย เป็นพาหะ 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.21% ในผู้ขายอาหารที่ตรวจRSC(218ราย) • อัตราผลบวกของการทำRSCในผู้สัมผัสร่วมบ้านและผู้สัมผัสในชุมชนเท่ากับ 3.5% (ทำRSCในผู้สัมผัส 2,160 ราย) • อัตราผลบวกของการทำRSCในผู้ที่มีอาการถ่ายเหลวที่มารับการรักษาที่รพ.เท่ากับ 27.96% (จาก RSC372 ราย) • จำนวนผู้ติดเชื้อในเจ้าหน้าที่รพ. 3 ราย จากผู้ทำRSC 119 ราย (2.52%) • ผู้เสียชีวิต 1 ราย CFR = 0.79 % • จากผู้ป่วยใน 66 ราย มีภาวะ hypovolemic shock 17.8 % ARF 11.1 % sepsis 2.2%

  9. จำนวนผู้ป่วย กันยายน ตุลาคม

  10. ร้อยละของผู้ป่วยจำแนกตามชนิดยาที่ใช้รักษาร้อยละของผู้ป่วยจำแนกตามชนิดยาที่ใช้รักษา ร้อยละของผู้ป่วยที่ผลRSC positiveจำแนกตามระยะเวลา หลังได้รับยาปฏิชีวนะ(n=90)

  11. เส้นทางการขนส่งสินค้าและผู้ป่วยรายแรกใน3อำเภอเส้นทางการขนส่งสินค้าและผู้ป่วยรายแรกใน3อำเภอ ผู้ขายอาหารที่ติดเชื้อ วันสัมผัส สุราษฎร์ธานี ตลาดมหาชัย วันเริ่มป่วย อ.หนองเรือ 16 17 รถเร่ขายในพื้นที่ ____________________________________ หอยแครง อ.เมืองขอนแก่น ตลาดอ.จิระ ตลาดบางลำภู ตลาดรถไฟ ____________________________________ 21 24 อ.กระนวน ตลาดสืบสารคาม (หนองโก) ตลาด อื่นๆ ตลาดคลองถม (ทุกวันศุกร์) ขายก๋วยเตี๋ยวที่บ้าน ขายกับข้าว ตลาดคำขึ้ง

  12. ระบบน้ำประปาชุมชน คลอรีน ประปาผิวดิน= 29 แห่ง ประปาบาดาล= 16 แห่ง แหล่งน้ำดิบ ใส่สารส้ม คลอรีน คลอรีน บ่อน้ำใส

  13. Drug sensitivity

  14. การกำหนดนโยบายระดับจังหวัดการกำหนดนโยบายระดับจังหวัด • โดยกำหนดมาตรการในเขตการระบาด ให้ผู้ป่วย Diarrhea ทุกราย ทำ RSC และให้ Norfloxacin ยกเว้น.ในคนที่ตั้งครรภ์ (ให้ Erythromycin) และดำเนินการควบคุมโรคดังนี้ • RSC ผู้ประกอบอาหารสดทุกราย: อาหารทะเล ลาบ ก้อย เนื้อ เขียงเนื้อ ยำ กุ้งฝอย ส้มตำปลาร้า ปูดอง • ติดตามผล RSC ของข้อ 1 ถ้า positive จึงจ่ายยา • ผู้สัมผัส ผู้ป่วย ครัวเรือน ทานอาหารร่วมกัน RSC และจ่ายยา โดยไม่ต้องรอผล (จนครบ 3 วัน) กรณีนี้ใช้ระยะเวลา 10 วันหลังสัมผัส • ผู้สัมผัสอาหารเสี่ยง (ไม่ใช่ กลุ่ม 3) ภายใน 5 วัน ให้ RSC และจ่ายยา • กรณี 4 แต่มากกว่า 5-10 วัน RSC แต่รอผล lab ถ้าพบ Positive จ่ายยา • ทุกรายที่จ่ายยา ให้มีบันทึก กำกับ ติดตาม การกินยาจนครบ 3 วัน

  15. สิ่งที่พื้นที่อำเภอกระนวนได้ดำเนินการสิ่งที่พื้นที่อำเภอกระนวนได้ดำเนินการ • กำหนดทีมผู้รับผิดชอบ บทบาทหน้าที่ งานที่ต้องดำเนินการ • การดำเนินงานในเชิงรับ - ปรับหอผู้ป่วยหญิงเป็นหอผู้ป่วยติดเชื้อ ควบคุมการเข้าเยี่ยม มีน้ายาม่าเชื้อก่อนเข้าและออก มีป้ายเตือน และข้อปฏิบัติตนป้องกันการติดเชื้อ -ปรับปรุงระบบการสอบสวนโรคและฐานข้อมูล - ติดตามทำRSCผู้ติดเชื้อและติดตามการกินยา • การดำเนินงานในเชิงรุก - ทำ active case finding -สำรวจแหล่งน้ำประปาประสานควบคุมระดับคลอรีนตกค้าง - ให้ความรู้ผ่านทางสื่อ ได้แก่ ป้ายประกาศ รถกระจายเสียง สถานีวิทยุกระจายเสียง วิทยุชุมชน • ประชุม War room ทุกวัน หัวหน้าทีมปฏิบัติการทุกทีม เวลา 10.00 น. รายงานสถานการณ์ ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน ปัญหาและวางแผนการปฏิบัติงาน

More Related