1.64k likes | 3.06k Views
การชำระบัญชี. วิธีปฏิบัติในการชำระบัญชี. 1. การสั่งเลิกสหกรณ์ และแต่งตั้งผู้ชำระบัญชี. 2. การปฏิบัติของผู้ชำระบัญชี ก่อนการชำระบัญชี. 3. การปฏิบัติของผู้ชำระบัญชี ระหว่างชำระบัญชี. 4. การปฏิบัติของผู้ชำระบัญชี ภายหลังชำระบัญชี. การปฏิบัติก่อนการชำระบัญชี. 2. 1. 3. รับมอบทรัพย์สิน
E N D
วิธีปฏิบัติในการชำระบัญชีวิธีปฏิบัติในการชำระบัญชี 1. การสั่งเลิกสหกรณ์ และแต่งตั้งผู้ชำระบัญชี 2. การปฏิบัติของผู้ชำระบัญชี ก่อนการชำระบัญชี 3. การปฏิบัติของผู้ชำระบัญชี ระหว่างชำระบัญชี 4. การปฏิบัติของผู้ชำระบัญชี ภายหลังชำระบัญชี
การปฏิบัติก่อนการชำระบัญชีการปฏิบัติก่อนการชำระบัญชี 2 1 3 รับมอบทรัพย์สิน สมุดบัญชี + เอกสาร จัดทำงบการเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์สิน ประกาศโฆษณา +แจ้งเจ้าหนี้ 6 5 4 การปฏิบัติ ก่อนชำระบัญชี กลุ่มเกษตรกร เสนองบการเงิน ต่อที่ประชุมใหญ่ + นทส. ผู้สอบบัญชีตรวจสอบ + รับรองงบการเงิน
1. รับมอบทรัพย์สิน สมุดบัญชี เอกสาร พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 มาตรา 78 ผู้ชำระบัญชีจะเรียกให้คณะกรรมการดำเนินการ/เจ้าหน้าที่สหกรณ์ ส่งมอบทรัพย์สิน พร้อมด้วยสมุดบัญชี เอกสาร และสิ่งอื่นเมื่อใดก็ได้ คำแนะนำ นทส. เรื่อง วิธีปฏิบัติในการชำระบัญชีสหกรณ์ พ.ศ. 2546 ให้ปฏิบัติตามมาตรา 78 ควรเรียกให้ส่งมอบทรัพย์สิน พร้อมด้วยสมุดบัญชี เอกสาร และอื่นๆ ให้เสร็จสิ้นภายใน 30 วัน นับแต่วันที่นายทะเบียนสหกรณ์จดทะเบียนผู้ชำระบัญชี
2. ประกาศโฆษณา แจ้งเจ้าหนี้ มาตรา 79 ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่นายทะเบียนสหกรณ์จดทะเบียนผู้ชำระบัญชี ให้ประกาศโฆษณาทาง นสพ. รายวันอย่างน้อย 2 วันติดต่อกัน หรือประกาศโฆษณาทางอื่นว่าสหกรณ์ได้เลิก แจ้งเป็นหนังสือไปยังเจ้าหนี้ทุกคน เพื่อทราบว่าสหกรณ์นั้นเลิก และให้เจ้าหนี้ยื่นคำทวงหนี้แก่ผู้ชำระบัญชี คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ ให้ปฏิบัติตามมาตรา 79 ภายในระยะเวลาที่กำหนด
3. จัดทำงบการเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์สิน มาตรา 80 วรรคแรก ผู้ชำระบัญชีต้องทำงบดุลของสหกรณ์โดยไม่ชักช้า คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ ให้ปฏิบัติตามมาตรา 80 ควรจัดทำงบการเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์สินให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน นับแต่วันที่นายทะเบียนสหกรณ์ จดทะเบียนผู้ชำระบัญชี
3. จัดทำงบการเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์สิน (ต่อ) คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ ให้จัดทำงบการเงินจากเอกสารหลักฐานของสหกรณ์ ต่อจากวันสิ้นปีทางบัญชีที่ผู้สอบบัญชีได้แสดงความเห็นครั้งหลังสุด ถึงวันรับมอบทรัพย์สิน ให้จัดทำงบการเงินตามรูปแบบที่ กตส. กำหนดให้ถือใช้ สำหรับสหกรณ์ประเภทนั้นๆ
ตัวอย่างหน้า 11 31 มี.ค. 45 ผู้สอบบัญชีได้แสดงความเห็นต่องบการเงินครั้งหลังสุด 20 เม.ย. 45 1 เม.ย. 45 30 เม.ย. 45 วันต่อจาก วันสิ้นปีทางบัญชี นทส. จดทะเบียนผู้ชำระบัญชี ผู้ชำระบัญชี รับมอบทรัพย์สิน จัดทำงบการเงินตั้งแต่วันที่ 1 เม.ย. 45 ถึงวันที่ 30 เม.ย. 45
4. ผู้สอบบัญชีตรวจสอบ รับรองงบการเงิน มาตรา 80 วรรคแรก ให้นายทะเบียนสหกรณ์ตั้งผู้สอบบัญชีเพื่อตรวจสอบงบดุลนั้น คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ ให้ปฏิบัติตามมาตรา 80 โดยส่งงบการเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์สินให้ผู้สอบบัญชีรวม 3 ฉบับ เมื่อได้ตรวจสอบรับรองงบการเงินนั้นแล้ว ให้ผู้สอบบัญชีเก็บไว้ 1 ฉบับ และส่งคืนให้ผู้ชำระบัญชี 2 ฉบับ
5. เสนองบการเงินต่อที่ประชุมใหญ่ / นทส. มาตรา 80 วรรคสอง เมื่อผู้สอบบัญชีรับรองงบดุลแล้ว ให้ผู้ชำระบัญชีเสนองบดุลต่อ ที่ประชุมใหญ่เพื่ออนุมัติ แล้วเสนองบดุลนั้นต่อนายทะเบียนสหกรณ์ คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ ให้ปฏิบัติตามมาตรา 80 เสนองบการเงินให้ที่ประชุมใหญ่อนุมัติแล้วเสนองบการเงิน พร้อมรายงานของผู้สอบบัญชี และรายงานแสดงการอนุมัติของที่ประชุมใหญ่สหกรณ์ต่อนายทะเบียนสหกรณ์
6. การปฏิบัติก่อนชำระบัญชีกลุ่มเกษตรกร มาตรา 80 วรรคท้าย กรณีที่การประชุมใหญ่ไม่ครบองค์ประชุม ให้ผู้ชำระบัญชีเสนอ งบดุลต่อ นายทะเบียนสหกรณ์ เพื่ออนุมัติ ระเบียบ นทส. ว่าด้วยการชำระบัญชีกลุ่มเกษตรกร เมื่อผู้ชำระบัญชีได้รับงบการเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์สินกลุ่มฯ แต่ไม่สามารถประชุมใหญ่ได้ ให้ ผู้สอบบัญชี อนุมัติแล้วรายงานต่อ นายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจำจังหวัดเพื่อทราบ
Basic การบัญชีเบื้องต้น เพื่อการจัดทำงบการเงิน
รายการเงิน หมายถึง รายการรับ – จ่ายเงิน หรือสิ่งที่มีค่าเป็นเงิน ซึ่งเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของสหกรณ์ ประเภทของรายการเงิน 5 ประเภทคือ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ค่าใช้จ่าย
สินทรัพย์ สิ่งที่มีค่าเป็นตัวเงินทั้งที่มีตัวตนและไม่มีตัวตน ซึ่งสหกรณ์เป็นเจ้าของ เงินสด เงินฝากธนาคาร เงินลงทุน ลูกหนี้เงินให้กู้ ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ วัสดุคงเหลือ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ฯลฯ
หนี้สิน ภาระผูกพันที่สหกรณ์มีต่อบุคคลภายนอก คือ เจ้าหนี้อันเกิดจากการกู้ยืม หรือกรณีอื่นๆ ซึ่งต้องชำระคืนในภายหน้า เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกู้ยืม เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้เงินรับฝาก ค่าบำรุงสันนิบาตสหกรณ์ฯ ค้างจ่าย ฯลฯ
ทุน ส่วนที่สมาชิก หรือสหกรณ์เป็นเจ้าของ หลังจากนำสินทรัพย์ทั้งสิ้น หักด้วยหนี้สินแล้ว ทุนเรือนหุ้น ทุนสำรอง ทุนสะสมตามข้อบังคับ ระเบียบและอื่นๆ - ทุนสาธารณประโยชน์ - ทุนศึกษาอบรมทางสหกรณ์ - ทุนเพื่อขยายงาน - ทุนเพื่อส่งเสริมสวัสดิการ กำไร (ขาดทุน)สุทธิ ฯลฯ
รายได้ ผลตอบแทนที่ได้รับจากการดำเนินธุรกิจ การลงทุน และรายได้อื่น ดอกเบี้ยรับจากเงินให้กู้ ขายสินค้า รายได้ค่าบริการ ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร/สหกรณ์ ค่าธรรมเนียมแรกเข้า ผลตอบแทนการลงทุนถือหุ้น รายได้เบ็ดเตล็ด ฯลฯ
ค่าใช้จ่าย ต้นทุนของสินค้า หรือบริการที่ใช้จ่ายไป เพื่อก่อให้เกิดรายได้ ดอกเบี้ยจ่ายเงินกู้ ซื้อสินค้า ค่าใช้จ่ายในการติดตามหนี้ ค่าใช้จ่ายในการขายสินค้า เงินเดือนและค่าจ้าง ดอกเบี้ยจ่ายเงินรับฝาก ค่าเบี้ยเลี้ยงพาหนะ ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด ฯลฯ
ความสัมพันธ์ของรายการเงิน ความสัมพันธ์ของรายการเงิน สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (รายได้ - ค่าใช้จ่าย) ทุน เพิ่มขึ้น / ลดลง สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน + (รายได้ - ค่าใช้จ่าย)
ตัวอย่างการวิเคราะห์รายการบัญชีตัวอย่างการวิเคราะห์รายการบัญชี 1. รับเงินค่าหุ้นจากสมาชิก 10,000 บาท สินทรัพย์ (เงินสด) เพิ่มขึ้น ทุน (ทุนเรือนหุ้น) เพิ่มขึ้น 2. จ่ายเงินกู้ระยะสั้นให้สมาชิก 5,000 บาท สินทรัพย์ (เงินสด) ลดลง สินทรัพย์ (ลูกหนี้เงินกู้) เพิ่มขึ้น 3. รับเงินฝากออมทรัพย์จากสมาชิก 3,000 บาท สินทรัพย์ (เงินสด) เพิ่มขึ้น หนี้สิน (เงินรับฝาก) เพิ่มขึ้น 4. จ่ายค่าเบี้ยเลี้ยงพาหนะให้กรรมการ 200 บาท สินทรัพย์ (เงินสด) ลดลง ค่าใช้จ่าย (ค่าเบี้ยเลี้ยง) เพิ่มขึ้น
ตัวอย่างการวิเคราะห์รายการบัญชี (ต่อ) 5. ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ 2,000 บาท ค่าใช้จ่าย (ซื้อสินค้า) เพิ่มขึ้น หนี้สิน (เจ้าหนี้การค้า) เพิ่มขึ้น 6. ขายสินค้าเป็นเงินสด 2,200 บาท สินทรัพย์ (เงินสด) เพิ่มขึ้น รายได้ (ขายสินค้า) เพิ่มขึ้น 7. นำเงินฝากธนาคาร 6,000 บาท สินทรัพย์ (เงินสด) ลดลง สินทรัพย์ (เงินฝากธนาคาร) เพิ่มขึ้น 8. ธนาคารคิดดอกเบี้ยเงินฝากให้สหกรณ์ 100 บาท สินทรัพย์ (เงินฝาก) เพิ่มขึ้น รายได้ (ดอกเบี้ยเงินฝาก) เพิ่มขึ้น
การบันทึกบัญชีตามหลักบัญชีคู่การบันทึกบัญชีตามหลักบัญชีคู่ คือ หลักการบัญชีที่ยอมรับ และใช้กันทั่วไป โดยรายการเงินแต่ละรายการที่เกิดขึ้นจะต้อง ลงบัญชี 2 ด้านเสมอ ในจำนวนเงินที่เท่ากัน เครดิต ด้านขวา เดบิต ด้านซ้าย
บัญชีสินทรัพย์ + บัญชีค่าใช้จ่าย เดบิต เครดิต + ( เพิ่ม ) - ( ลด ) ยอดคงเหลือ “ เดบิต ”
บัญชีหนี้สิน + บัญชีทุน + บัญชีรายได้ เครดิต เดบิต - ( ลด ) + ( เพิ่ม ) ยอดคงเหลือ “ เครดิต ”
ตัวอย่างการบันทึกบัญชีตัวอย่างการบันทึกบัญชี 1. รับเงินค่าหุ้นจากสมาชิก 10,000 บาท เดบิต เงินสด 10,000 บาท (สินทรัพย์เพิ่ม) เครดิต ทุนเรือนหุ้น 10,000 บาท (ทุนเพิ่ม) เงินสด ทุนเรือนหุ้น (1) 10,000 (1) 10,000
ตัวอย่างการบันทึกบัญชี (ต่อ) 2. จ่ายเงินกู้ระยะสั้นให้สมาชิก 5,000 บาท เดบิต ลูกหนี้เงินกู้ระยะสั้น 5,000 บาท (สินทรัพย์เพิ่ม) เครดิต เงินสด 5,000 บาท (สินทรัพย์ลด) ลูกหนี้เงินกู้ระยะสั้น เงินสด (2) 5,000 (2) 5,000 (1) 10,000
ตัวอย่างการบันทึกบัญชี (ต่อ) 3. รับเงินฝากออมทรัพย์จากสมาชิก 3,000 บาท เดบิต เงินสด 3,000 บาท (สินทรัพย์เพิ่ม) เครดิต เงินรับฝากออมทรัพย์ 3,000 บาท (หนี้สินเพิ่ม) เงินรับฝากออมทรัพย์ เงินสด (3) 3,000 (1) 10,000 (2) 5,000 (3) 3,000
ตัวอย่างการบันทึกบัญชี (ต่อ) 4. จ่ายค่าเบี้ยเลี้ยงพาหนะให้กรรมการ 200 บาท เดบิต ค่าเบี้ยเลี้ยงพาหนะ 200 บาท (ค่าใช้จ่ายเพิ่ม) เครดิต เงินสด 200 บาท (สินทรัพย์ลด) ค่าเบี้ยเลี้ยงพาหนะ เงินสด (4) 200 (1) 10,000 (2) 5,000 (4) 200 (3) 3,000
ตัวอย่างการบันทึกบัญชี (ต่อ) 5. ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ 2,000 บาท เดบิต ซื้อสินค้า 2,000 บาท (ค่าใช้จ่ายเพิ่ม) เครดิต เจ้าหนี้การค้า 2,000 บาท (หนี้สินเพิ่ม) เจ้าหนี้การค้า ซื้อสินค้า (5) 2,000 (5) 2,000
ตัวอย่างการบันทึกบัญชี (ต่อ) 6. ขายสินค้าเป็นเงินสด 2,400 บาท เดบิต เงินสด 2,400 บาท (สินทรัพย์เพิ่ม) เครดิต ขายสินค้า 2,400 บาท (รายได้เพิ่ม) ขายสินค้า เงินสด (1) 10,000 (2) 5,000 (6) 2,400 (4) 200 (3) 3,000 (6) 2,400
ตัวอย่างการบันทึกบัญชี (ต่อ) 7. นำเงินฝากธนาคาร 6,000 บาท เดบิต เงินฝากธนาคาร 6,000 บาท (สินทรัพย์เพิ่ม) เครดิต เงินสด 6,000 บาท (สินทรัพย์ลด) เงินฝากธนาคาร เงินสด (7) 6,000 (1) 10,000 (2) 5,000 (4) 200 (3) 3,000 (6) 2,400 (7) 6,000
ตัวอย่างการบันทึกบัญชี (ต่อ) 8. ธนาคารคิดดอกเบี้ยเงินฝากให้สหกรณ์ 100 บาท เดบิต เงินฝากธนาคาร 100 บาท (สินทรัพย์เพิ่ม) เครดิต ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร 100 บาท (รายได้เพิ่ม) เงินฝากธนาคาร ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร (8) 100 (7) 6,000 (8) 100
ขั้นตอนการจัดทำบัญชี 5 จัดทำงบการเงิน และรายละเอียดประกอบ 4 จัดทำกระดาษทำการงบทดลอง + ปิดบัญชี 3 ผ่านไปยังสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป 2 บันทึกสมุดเงินสด สมุดรายวันทั่วไป 1 รวบรวมเอกสารลงบัญชี
เอกสารประกอบการลงบัญชีเอกสารประกอบการลงบัญชี ใช้บันทึกรายการเงินที่เกิดขึ้น ทั้งการรับ – จ่ายเงิน หรือรายการใดๆ เพื่อเป็นหลักฐานว่าเกิดรายการเงินขึ้นจริงตามจำนวนที่ปรากฏในเอกสารนั้น เอกสารภายใน เอกสารภายนอก ให้ผู้ชำระบัญชีใช้เอกสารที่สหกรณ์ใช้อยู่ก่อนชำระบัญชี
เอกสารภายใน เป็นเอกสารที่สหกรณ์จัดทำขึ้นเพื่อบันทึกรายการเงินต่างๆภายในกิจการ และเป็นหลักฐานในการบันทึกบัญชี ได้แก่ ใบเสร็จรับเงิน ใบรับเงินขายสินค้า ใบกำกับสินค้า ใบรับเงินกู้ ใบเบิกเงิน ใบส่งเงินฝาก ใบถอนเงินฝาก ใบสำคัญรับ ใบสำคัญจ่าย ใบโอนบัญชี ฯลฯ
เอกสารภายนอก เป็นเอกสารที่สหกรณ์ได้รับจากบุคคลภายนอก ใช้เป็นหลักฐานในการบันทึกบัญชี ได้แก่ ใบเสร็จรับเงินจากผู้ขาย ใบกำกับสินค้า / ใบส่งของ (กรณีสหกรณ์ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ)ฯลฯ
การจัดการเอกสารประกอบการลงบัญชีการจัดการเอกสารประกอบการลงบัญชี รวบรวมเอกสารประกอบการลงบัญชี แยกเอกสารออกเป็นแต่ละอย่างตามประเภทบัญชี บวกยอดเงินตามเอกสารแต่ละประเภท ใบสำคัญรับ ใบสำคัญจ่าย ใบโอนบัญชี จัดทำใบสรุปรายการเงิน
สมุดเงินสด บันทึกรายการเงินจากเอกสารประกอบการลงบัญชี เกี่ยวกับการรับ – จ่ายเงินสด บันทึกเรียงตามลำดับก่อนหลังที่รายการเงินเกิดขึ้น คำนวณเงินสดคงเหลือประจำวัน
เดบิต (ซ้าย) เครดิต (ขวา) รับเงิน จ่ายเงิน รวมจ่าย รวมรับ ยกไป ยกมา
สมุดรายวันทั่วไป บันทึกรายการจากเอกสารประกอบการลงบัญชี (ใบโอนบัญชี) ที่ไม่เกี่ยวกับการรับ – จ่ายเงินสด เป็นรายการปรับปรุงบัญชี และรายการปิดบัญชี บันทึกเรียงตามลำดับก่อนหลังที่รายการเกิดขึ้น
บัญชีที่เดบิต จำนวนเงิน บัญชีที่เครดิต จำนวนเงิน เงินฝากธนาคาร100 - ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร100 -
สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป ผ่านรายการเงินจากสมุดเงินสด สมุดรายวันทั่วไป ทุกบัญชีแยกตามประเภทบัญชีที่จำแนกไว้ เรียงลำดับตามหมวดบัญชีสินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ และค่าใช้จ่าย คำนวณหายอดคงเหลือของแต่ละบัญชี
ยกมา เพิ่ม ลด ดุลปกติ
ยกมา ลด เพิ่ม ดุลปกติ
บัญชีย่อย บันทึกรายละเอียดย่อยแต่ละราย เพื่อประโยชน์ในการควบคุม ตรวจสอบ - บัญชีย่อยลูกหนี้เงินให้กู้ - บัญชีย่อยลูกหนี้การค้า - บัญชีย่อยลูกหนี้ค่าบริการ - บัญชีย่อยเจ้าหนี้เงินรับฝาก - บัญชีย่อยเจ้าหนี้การค้า ฯลฯ
ทะเบียน บันทึกรายละเอียดจากเอกสารต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการควบคุม ตรวจสอบ - ทะเบียนสมาชิกและการถือหุ้น - ทะเบียนสินทรัพย์ถาวร - ทะเบียนคุมสินค้า ฯลฯ ให้ผู้ชำระบัญชีใช้สมุดบัญชี บัญชีย่อย และทะเบียนต่างๆ ต่อเนื่องจากที่สหกรณ์ใช้อยู่ก่อนชำระบัญชี
งบทดลอง รายงานทางการเงินที่แสดง ยอดคงเหลือของบัญชีต่างๆ ทุกบัญชีในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป ณ วันใดวันหนึ่ง จัดทำขึ้นเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึกบัญชีตามหลักการบัญชีคู่ และเพื่อเตรียมการจัดทำงบการเงิน ยอดรวมของบัญชีที่มียอดคงเหลือเดบิต ย่อมเท่ากับ ยอดรวมของบัญชีที่มียอดคงเหลือเครดิต “งบทดลองลงตัว”
สหกรณ์............................................จำกัดสหกรณ์............................................จำกัด งบทดลอง วันที่ ...................................................... ยอดยกมาต้นปี ยอดคงเหลือสิ้นปี ระหว่างปี หน้า บัญชี ที่ ชื่อบัญชี เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต xx xx 1สินทรัพย์ 2 หนี้สิน 3 ทุน 4 รายได้ 5 ค่าใช้จ่าย ลด เพิ่ม xx xx เพิ่ม ลด xx xx ลด เพิ่ม ลด xx เพิ่ม เพิ่ม ลด xx
การปิดบัญชีรายได้ ค่าใช้จ่าย เป็นการโอนบัญชีประเภทรายได้ และค่าใช้จ่ายต่างๆ เข้าบัญชีต้นทุนการผลิต บัญชีต้นทุนขาย บัญชีกำไรขาดทุน เพื่อคำนวณหาผลกำไร หรือขาดทุนจากการดำเนินงาน บันทึกรายการปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป และผ่านรายการไปยังสมุดบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวข้อง