320 likes | 710 Views
Emergence of Fatal Hand Foot & Mouth Disease, Thailand, 2006. นพ.โสภณ เอี่ยมศิริถาวร นพ.โรม บัวทอง สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. Hand Foot and Mouth Disease (HFMD). Viral illness Caused by non- poliolo enterovirus : Coxsackies A & B, Echovirus, Enterovirus 68-71
E N D
Emergence of Fatal Hand Foot & Mouth Disease, Thailand, 2006 นพ.โสภณ เอี่ยมศิริถาวร นพ.โรม บัวทอง สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
Hand Foot and Mouth Disease (HFMD) Viral illness • Caused by non-polioloenterovirus: Coxsackies A & B, Echovirus, Enterovirus 68-71 • Manifestation: Fever and vesicular lesions (Hands, Feet, Oral mucosa) • Mode of transmission: oral-fecal and respiratory droplet • Case fatality rates were usually low (< 1 %)
Large Outbreaks of HFMD in Asia Japan 1978 36,301/ ? Thailand2005 4,646/ 0 Taiwan 1998 129,106/ 78 Malaysia1997 5,999/ 31 Malaysia2005 14,253/ ? Singapore 2000 > 4,000/ 7
Reported HFMD cases, Thailand, 2001-2007 (June 21) Year Cases Fatal 2001 1,547 0 2002 3,533 2 2003 1,218 2 2004 769 2 2005 4,646 0 2006 3,125 7* 2007 1,006 0 รายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา
HFMD Cases, Thailand, 2003-2007 (June 21) รายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา
Case definition for Surveillance เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria) • ส่วนใหญ่พบในเด็กเล็ก มีอาการไข้ มีแผลเปื่อยหลายแผลในปากและมีอาการเจ็บร่วมกับมีตุ่มน้ำพองขนาดเล็กที่ฝ่ามือ นิ้วมือ ฝ่าเท้า และบางครั้งอาจมีปรากฏที่ก้น เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria) • Viral culture แยกเชื้อได้จาก • ทำ throat swab ในสัปดาห์แรกของการเริ่มป่วย • ป้ายจากตุ่มน้ำพอง ที่ทำให้แตกบริเวณมือ/เท้า/ก้น (ก่อนตุ่มน้ำติดเชื้อหนองหรือเป็นสะเก็ด) • เก็บ stool culture หลังเริ่มป่วย 14 วัน ในอุจจาระจะพบเชื้อได้นานถึง 6 สัปดาห์ • Serology เจาะเลือดครั้งแรกทำเร็วที่สุดภายใน 3 วันหลังเริ่มป่วย ครั้งที่สองห่างจากครั้งแรก14 วัน พบระดับแอนติบอดีในซีรั่มคู่ต่างกันอย่างน้อย 4 เท่า
Case Classification • ผู้ป่วยที่สงสัย (Suspected case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก • ผู้ป่วยที่เข้าข่าย (Probable case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทาง คลินิกและข้อมูลทางระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยที่ยืนยัน • ผู้ป่วยที่ยืนยันผล (Confirmed case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก ร่วมกับผลตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการพบเชื้อไวรัสเอนเตอโร 71หรือ ผลการตรวจซีรั่มคู่ต่างกันอย่างน้อย 4 เท่าของระดับแอนติบอดีต่อไวรัสเอนเตอโร 71
Location of Fatal HFMD Cases by Chronological Date BKK/June BKK/July Phrae/August Khonkhan/August Kumphang/September Petchabun/October Nakhorn Sawan/November
Characteristics of Fatal HFMD Cases( N=7 ) * During from date of onset to dead
Clinical Manifestations of Fatal HFMD Cases, Thailand, 2006 Symptom Percent
Laboratory Results Enterovirus isolation: Fatal Case Specimen Number Test Result Stool 2 Viral isolation Negative Nasopharyngeal swab 1 Viral isolation EV71 Tracheal suction 6 Viral isolation Negative
Laboratory Results Enterovirus Isolation: Contact tracing Specimen Number Test Result Stool 2 Viral isolation EV71 Demonstrate evidence of epidemiological linkage
Discussion • A cause of fatal HFMD reported during the Taiwanese outbreaks was brainstem infection resulting in cardiopulmonary failure • And 7 cases of fatal HFMD in Thailand showed evidence of brainstem infection including • Pulmonary edema/hemorrhage • Hyperglycemia • Tachycardia • Leukocytosis
2 1 3 Pathogenesis : Reticular formation involvement autonomic dysfunction Damage of some area of brain stem esp. medullary vasomotor center Sympathetic over-stimulation Pulmonary veins constriction Excessive release of cathecolamine & cortisol Inc. pulmonary capillary hydrostatic pressure HT,Tachycardia,Sweating Hyperglycemia Pulmonary edema
1 – 11 months 5 yr
Etiologic agent of HFMD outbreak Coxsackie's Virus Predominated EV71 Predominated
When to think about EV71 infection? • Age < 5 years ( < 15 years possible) • High grade fever ( > 39 degree celsius) • Abrupt onset of fever and dyspnea • Rapidly progression until death or coma • Evidence of Brainstem Infection 5.1 Pulmonary edema/hemorrhage 5.2 Extreme tachycardia 5.3 Abnormal pattern of EKG 5.4 Hyperglycemia 5.5 Hypertension
When to think about EV71 infection? 6. Evidence of Myocarditis/Pericarditis 6.1 Increased cardiac enzyme 6.2 Extreme tachycardia 6.3 Abnormal pattern of EKG
เกณฑ์การสอบสวนโรค HFMD, EV71 • เมื่อพบลักษณะของโรคที่สงสัย EV71 ให้สอบสวนโรคโดยส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ รวมทั้งรายงานไปตามระบบ ดังนี้ • HFMD ที่ Admit ทุกราย • HFMD ที่ Death ทุกราย • HFMD ที่เป็น Cluster (รร.,หมู่บ้าน,สถานที่เดียวกัน) • Non-HFMD 4.1 Fever with acute pulmonary edema 4.2 Clinician suspected EV71
การเก็บตัวอย่างส่งตรวจการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ เก็บถูกวิธี เก็บถูกต้องตามวันเวลา • Stool ภายใน 14 วัน • Throat/NP swab ภายใน 3 วัน • Paired serum ครั้งแรกเก็บภายใน 3 วันหลังเริ่มป่วย ครั้งที่สอง ห่างจากครั้งแรกอย่างน้อย 14 วัน 4. CSF, Vesicle เก็บส่งเร็วที่สุด
การเก็บตัวอย่างส่งตรวจการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ เก็บถูกวิธี ปริมาณที่เหมาะสม • Stool จำนวน 8 กรัม (หัวนิ้วโป้ง) • Throat/NP swab • Paired serum จำนวน 2 มิลลิลิตร/ตัวอย่าง • CSF จำนวน 2 มิลลิลิตร • Vesicle
การเก็บตัวอย่างส่งตรวจการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ เก็บถูกวิธี ภาชนะที่ใช้เก็บถูกต้อง • Stool ใส่ในกระป๋องปราศจากเชื้อ ใส่ถุงอีก 2 ชั้น • Throat/NP swab ใส่ใน media พิเศษ สีชมพู • Paired serum ใส่ใน tube ที่ปราศจากเชื้อ • CSF, Vesicle ใส่ใน tube ที่ปราศจากเชื้อ
การเก็บตัวอย่างส่งตรวจการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ เก็บถูกวิธี อุณหภูมิเหมาะสม* All specimen เก็บที่ 4 องศา ขณะนำส่ง เก็บที่ – 20 องศา หากรอตรวจ ส่งเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ *เป็นข้อผิดพลาดที่พบบ่อย และส่งผลให้เพาะเชื้อไม่พบ
มาตรการควบคุมโรค เมื่อพบว่ามีการระบาด ให้ดำเนินสอบสวนและ ควบคุมการระบาด • ให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ในเรื่องธรรมชาติของเชื้อและการป้องกันควบคุมโรค โดยเน้นเรื่องการดูแลความสะอาดของสิ่งของที่เด็กมักจะเอาเข้าปาก • หากเด็กมีอาการไข้ ไอ หรือมีอาการป่วยคล้ายมือ เท้า ปาก ให้หยุดเรียน และพาไปพบแพทย์
มาตรการควบคุมโรค • แนะนำให้เด็กที่ป่วยอยู่กับบ้านและงดการเล่นกับเด็กอื่นๆในชุมชนจนอย่างน้อย ๑ สัปดาห์หลังเริ่มป่วย • หากพบว่ามีการระบาดของ HFM หรือ มีผู้ป่วยติดเชื้อ Enterovirus 71 ในโรงเรียนหรือศูนย์เด็กเล็ก พิจารณาให้ปิดชั้นเรียนที่มีเด็กป่วยมากกว่า ๒ ราย หากมีการป่วยกระจายในหลายชั้นเรียนแนะนำให้ปิดโรงเรียนเป็นเวลา ๕ วัน พร้อมทำความสะอาด อุปกรณ์รับประทานอาหาร, ของเล่นเด็ก, ห้องน้ำ, สระว่ายน้ำ และให้มั่นใจว่าน้ำมีระดับคลอรีนที่ไม่ต่ำกว่ามาตรฐาน
มาตรการควบคุมโรค • มาตรการในสถานเลี้ยงดูเด็กเล็กในทุกหมู่บ้าน โรงเรียนประถมทุกแห่ง ศูนย์การค้าที่มีเครื่องเล่น โดยให้มีการทำความสะอาดพื้น ของเล่นเด็ก ห้องสุขาและห้องน้ำ อุปกรณ์สำหรับการรับประทานอาหารและแก้วน้ำ โดยใช้แนวทางของกรมอนามัย