920 likes | 2.24k Views
Lean and seamless healthcare. โดย... นายแพทย์วัชรพล ภูนวล ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาลศูนย์อุตรดิตถ์. What is Lean ?. Lean is thin , not fleshy or fat พจนานุกรมไทย Lean = ผอม บาง กระชับ กรมพัฒนาชุมชน ....... Lean management = การจัดการรีดน้ำหนักองค์กร
E N D
Lean and seamless healthcare.โดย...นายแพทย์วัชรพล ภูนวลผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลศูนย์อุตรดิตถ์.
What is Lean ? Lean is thin, not fleshy or fat พจนานุกรมไทย Lean = ผอม บาง กระชับ กรมพัฒนาชุมชน ....... Lean management = การจัดการรีดน้ำหนักองค์กร Fast MBA Lean = การบริหารแบบไร้ไขมัน 2
แบบจำลองทั่วไปสำหรับกระบวนการหรือระบบ X1….Xp • Process Input Output Z1….Zq
ประวัติศาสตร์ Lean • 1950 • Eiji Toyoda เยี่ยมชมโรงงานผลิตรถยนต์ FORD • 1913 • Henry Ford เริ่มต้นทำ Line ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ • กลับไปพัฒนาระบบการผลิตของ Toyota ที่ประเทศญี่ปุ่น
Lean in Business คือแนวคิดที่สำคัญในการลดความสูญเสีย ความสิ้นเปลือง สูญเปล่า ที่เกิดขึ้นในการทำงานขององค์กร กิจกรรม เพิ่มมูลค่า กิจกรรมที่ ไม่เพิ่มมูลค่า กิจกรรมที่ ไม่ได้เพิ่มมูลค่า หลีกเลี่ยงไม่ได้ 5
ความท้าทายที่วงการ Healthcare กำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน คือ สิ่งเดียวกับที่ Toyota เผชิญในปี 1950 ความต้องการที่หลากหลายของลูกค้า (Fragmented markets demanding many products) การแข่งขันที่รุนแรง (Tough competition) ราคาขายที่คงที่ หรือ ตกต่ำลง(Fixed or falling prices) การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่รวดเร็ว (Rapidly changing technology)
การผลิตแบบทั่วไปvs.การผลิตแบบลีนการผลิตแบบทั่วไปvs.การผลิตแบบลีน การผลิตแบบทั่วไป ความสูญเปล่า การส่งมอบ ผลิตภัณฑ์ คำสั่งผลิตของลูกค้า Lead-Time การส่งมอบ ผลิตภัณฑ์ การผลิตแบบลีน คำสั่งผลิตของลูกค้า Lead-Time Cycle Efficiency = Value-added time Total lead time 7
องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ (Strategy-focused Organization) การบริหารกระบวนการ ลดรอบระยะเวลาดำเนินการ ประสิทธิภาพ Efficiency การพัฒนาขั้นตอนการทำงานให้ดีขึ้น ลดต้นทุน & ความสูญเสีย Reengineering Lean Enterprise Six Sigma TQM เพิ่มผลผลิต กระบวนการบริหารลูกค้า คุณภาพ Quality เพิ่มคุณค่า Value Creation เพิ่มความพึงพอใจ การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) การดูแลผู้รับบริการ เพิ่มความไว้วางใจ ความโปร่งใส มีส่วนร่วม การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ Effectiveness ขีดสมรรถนะ Capacity Building เพิ่มความพร้อมเชิง ยุทธศาสตร์ ทุนมนุษย์ ทุนข้อมูลสารสนเทศ & ทุนความรู้ ทุนองค์กร
การสูญเสีย(Muda) เวลาทั้งหมดในการทำงาน ความ สูญเสีย ส่วนของเนื้องาน ความ สูญเสีย 9
Lean ; แนวคิดที่สำคัญในการลดความสูญเสียจนเหลือแต่เนื้อแท้ในการทำงาน กิจกรรมที่ สร้างมูลค่า กิจกรรม ก ความสูญเสีย กิจกรรม ข กิจกรรม ค กิจกรรมที่ไม่ได้เพิ่ม มูลค่าแต่ไม่สามารถ หลีกเลี่ยงได้ การลดความสูญเสียทำให้ตอบสนองได้ดีขึ้น
การสูญเสีย(Wastes) • * เกิดเนื้องานเท่าเดิมในเวลาสั้นลง • * เนื้องานมากขึ้นในระยะเวลาเท่าเดิม • * เกิดเนื้องานมากขึ้นในเวลาสั้นลง ส่วนของความสูญเสีย เวลาทั้งหมดของงานภายใต้เงื่อนไขต่างๆ ส่วนของเนื้องานจริงๆ LEAN ส่วนของความสูญเสีย
ความสูญเปล่า (Waste, Muda, NVA) ความสูญเปล่าคือ การกระทำใดๆ ก็ตาม ที่ใช้ทรัพยากรไป ไม่ว่าจะเป็น แรงงาน วัตถุดิบ เวลา เงิน หรืออื่นๆ แต่ไม่ได้ทำให้สินค้านั้น เกิดคุณค่าหรือการเปลี่ยนแปลง– มุดะ (Muda) หรือ ความสูญเปล่าก็คือการกระทำที่ไม่ก่อให้เกิดคุณค่าต่อตัวสินค้าหรือบริการนั่นเอง งานที่ทำอยู่ 100 งาน จะเป็นงานที่มีคุณค่าอยู่เพียง 5 งาน เท่านั้น • 15-12
คุณค่าหากตัดสินที่การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของสินค้า เราสามารถแบ่งกิจกรรมเหล่านี้ได้สองส่วน ดังนี้ 1. กิจกรรมที่มีคุณค่า (Value added activity, VA) เจอเพียง 5% เช่น การตัด การพ่นสี การขึ้นรูป การประกอบ เป็นต้น 2. กิจกรรมที่ไม่มีคุณค่า (Non value added activity, NVA) พบถึง 95% ประกอบด้วย ชนิดที่ 1. ไม่มีคุณค่าแต่จำเป็นต้องทำ 60%เช่น การตรวจสอบ การขนย้ายเป็นต้น ชนิดที่ 2 ไม่มีคุณค่า และไม่จำเป็นต้องทำ35%เช่น การบันทึกข้อมูลที่ไม่ได้ใช้งานหรือไม่มีประโยชน์ การผลิตของเสีย การผลิตเกินความต้องการ เป็นต้น • 15-13
หลักการ 4 ศูนย์ เป็นหลักการที่สำคัญในการผลิต ที่ผู้เกี่ยวข้องควรทราบ • ของเสียเป็นศูนย์ (Zero defect) • การรอคอยเป็นศูนย์ (Zero delay) • วัสดุคงคลังเป็นศูนย์ (Zero inventory) • อุบัติเหตุเป็นศูนย์ (Zero accident) • 15-14
Lean Thinking“Womack & Jones” 5 1 2 4 3 15
ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL หลักการของ Lean 1. กำหนดคุณค่าของผลิตภัณฑ์ - ทำความเข้าใจกับ VOC (Voice of the Customer) 2. การทำให้ความสูญเปล่าปรากฏเด่นชัด - Visual Management - Visual Stream Mapping 3.การทำให้สายการผลิตไหลอย่างต่อเนื่อง (Continuous flow) - การลด Idle time/ Breakdown/ Out of Control - Line balancing โดย อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL หลักการของ Lean 4. การจัดวางระบบการผลิตแบบดึง (Pull System) - ทำความเข้าใจ Supply chain และผลิตตามความต้องการของลูกค้า 5. การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง - การค้นหาความสูญเปล่าแล้วกำจัดทิ้ง - Visual Stream Mapping โดย อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
แนวคิดของ Lean Enterprise ประชาชน ผู้ปฏิบัติงาน กระบวนงาน ขั้นตอน 1 ขั้นตอน2 ขั้นตอน4 ขั้นตอน 3 Citizen ความพึงพอใจประชาชน การลดความสูญเสีย ในการทำงาน เคารพในความเป็นปัจเจก
Lean Enterprise • ทำงานในสิ่งที่เป็นเนื้องานจริงๆโดยไม่เสียเวลาไปกับการสูญเสีย (Wastes) • เกิดเนื้องานเท่าเดิมในเวลาสั้นลง • เนื้องานมากขึ้นในระยะเวลาเท่าเดิม • เกิดเนื้องานมากขึ้นในเวลาสั้นลง
ลดระยะเวลารอคอย • รับใหม่ • พบแพทย์ • ลงทะเบียน • รับการรักษา/ หัตถการ
ลดเวลาทำหัตถการ/การพยาบาลลดเวลาทำหัตถการ/การพยาบาล • พ่นยา • ฉีดยา • ตรวจสุขภาพ • ตรวจทาง URO • ANC • จำหน่าย • ให้สารละยาย • รับ - ส่งเวร
ช่วยเหลือผู้ป่วย • Fast Tract MI • ดูแลทารกแรกเกิด • Stat Dose • รอผ่าตัด อื่นๆ • เบิกวัสดุอุปกรณ์การแพทย์
การสูญเสีย (Wastes) 7 ประการ 1.ความสูญเสียเนื่องมาจากการรองาน (Waiting) • เป็นความสูญเสียในการรอคอยหรือรองานซึ่งทำให้สูญเสียเวลาและประสิทธิภาพในการทำงานของผู้ปฏิบัติงาน 2. ความสูญเสียเนื่องมาจากการเคลื่อนย้ายงาน (Transport) • เป็นความสูญเสียในการเคลื่อนย้ายงานหรือลูกค้าจากจุดหนึ่งไปสู่จุดหนึ่งด้วยความจำเป็นหรือด้วยความไม่จำเป็น
การสูญเสีย (Wastes)7 ประการ 3. ความสูญเสียเนื่องมาจากการแก้ไขข้อผิดพลาด(Defect) • เป็นความสูญเสียจากการปฏิบัติงานที่ผิดพลาด ส่งผลเสียต่องานที่ทำและต้องนำมาสู่การแก้ไข 4. ความสูญเสียเนื่องมาจากการทำงานซ้ำซ้อน(Over processing) • เป็นความสูญเสียจากการทำงานซ้ำซ้อน ที่ทำแล้วทำอีก ตรวจสอบแล้วตรวจสอบอีก การทำงานให้ถูกต้องตั้งแต่แรก (Do it right the first time)
การสูญเสีย (Wastes) 7 ประการ 5. ความสูญเสียเนื่องมาจากการเก็บงานไว้ทำ (Inventory) • เป็นความสูญเสียจากการที่ผู้ปฏิบัติงานเก็บงานไว้ทำในภายหลัง ซึ่งส่งผลเสียต่องานที่ไม่สามารถเสร็จสิ้นได้อย่างรวดเร็ว 6. ความสูญเสียเนื่องมาจากการเคลื่อนไหวที่ไม่จำเป็นของผู้ปฏิบัติงาน (Movement) • เป็นความ สูญเสียอันเนื่องมาจากผู้ปฏิบัติงานมีการเคลื่อนไหวหรือเคลื่อนที่โดยเปล่าประโยชน์ สามารถแก้ไข ได้โดยการจัดผังการทำงานใหม่ (Layout)
ประการที่ 7 7. ความสูญเสียเนื่องมาจากการทำงานมากเกินไป (Over producing) • เป็นความสูญเสียเนื่องจากการทำงานมากเกินไป แต่งานที่ทำมากเป็นงานที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ เช่นการที่ผู้ปฏิบัติงานทำงาน นอกเหนือจากงานที่รับผิดชอบในขณะที่งานที่ตนเองรับผิดชอบยังรอให้ทำอยู่ ซึ่งถือเป็นการทำงาน ที่มากเกินความจำเป็นและไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ จะต้องมีการศึกษาการแบ่งภาระงานให้เกิดความสมดุล
ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL ขั้นตอนการทำ • กำหนดเป้าหมาย • เลือกงานสำคัญ • วิเคราะห์กระบวนการทำงานหลัก • ประเมินปัญหา • เลือกระบบย่อย (ปัญหา) • จัดทำ Flow Process • วิเคราะห์โดยเทคนิค Work Study • กำจัด Muda โดย ECRS/ 20 คำถาม • ปรับปรุง Flow Process • ประเมินผลลัพธ์ • จัดทำ Work Flow ใหม่ โดย อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
Lean Management 1. การไหลของทรัพยากรอย่างต่อเนื่อง 2. การลดการลงทุนในการเพิ่มทรัพยากร 3. การใช้ประโยชน์จากเครื่องจักร (ทรัพยากร) อย่างเต็มที่ 4. การยืดหยุ่นต่อความต้องการของตลาด 5. การลดเวลา และ 6. การเพิ่มผลตอบแทนสุทธิ (Return on net asset) โกศล ดีศีลธรรม , 2005
เครื่องมือในการลดความสูญเสียเครื่องมือในการลดความสูญเสีย 1.ใช้ Technology E-Organization การใช้ Technology เพื่อลดการสูญเสียในการทำงาน Information Technology เป็นสิ่งสำคัญในการลดความสูญเสียในการทำงาน นอกจากนี้ IT ยังช่วยให้เกิดความโปร่งใส (Transparency) ส่งผลให้เกิดการ Deregulation และ การ Privatization-Self service ในที่สุด ซึ่งทั้งหมดนี้ คือแนวคิดของ E-Organization เป็นส่วนหนึ่งของแนวคิด Lean Enterprise
เครื่องมือในการลดความสูญเสียเครื่องมือในการลดความสูญเสีย 2. ไม่ใช้ Technology การวิเคราะห์กระบวนงาน (Process analysis) เช่น แผนผังการไหล (Flow diagram) แผนภูมิกระบวนการ (Process chart) การลดเวลาหน้างาน การป้องกันความผิดพลาดในการทำงาน
ขั้นตอนการทำ Lean 1. ระบุโอกาสปรับปรุง 1.1 กำหนด Value Stream Mapping ทั้งระบบภายในองค์กร - จัดทำ work Flow Process ผังขั้นตอนทางผ่านของงาน เฉพาะ Key Process ที่ต้องการปรับปรุง - จัดทำผังการไหล Flow Diagram 1.2 วิเคราะห์กระบวนการทำงาน (Process analysis)
การลดการสูญเสียเวลา รอยาหรือการรักษาเร่งด่วน
Treatment room Play room 8 2 3 5 1 6 7 แพทย์-พยาบาล 4 4 Nurse’s station Flowการไหล
Flow การรับ order ยา / Treatment ; STAT แพทย์มา round O เดิม O Inc./TL ตาม round ร่วมกับแพทย์ แพทย์ตรวจผู้ป่วยในห้องพัก O แพทย์เขียน order ยา stat.ในใบ order ในห้องพักผู้ป่วย O ผู้ป่วยรอรับแผนการรักษา D แพทย์ round ร่วมกับ Inc./TL จนครบ O Inc. รับแผนการรักษาทีละ chart O Inc. เบิกยา stat. O
ขั้นตอนการทำ Lean 2. ประเมินปัญหา ศึกษาข้อมูลในกระบวนการที่เลือก ดังนี้ 2.1 ข้อมูลรอบเวลา 2.2 ข้อมูลสต๊อกระหว่างขั้นตอน 2.3 ข้อมูลความพร้อมของกระบวนการ 2.4 การจัดส่งสินค้า 2.5 คุณภาพที่ไม่ตรวจซ้ำ / แก้ไข 2.6 กำลังคน / เวลาการทำงาน
ขั้นตอนการทำ Lean 3. เชื่อมโยงข้อมูลเส้นทางกับสัญญลักษณ์ 3.1 การปฏิบัติงาน (Operation) O 3.2 การเคลื่อนย้าย (Transportation) 3.3 การตรวจสอบ (Inspection) 3.4 การเก็บพัก (Storage) 3.5 การรอคอย (Delay) D
ขั้นตอนการทำ Lean 4. ระบุสาเหตุหลักที่ก่อปัญหาเกิดความสุญเปล่า Five W. Analysis
วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
4. ระบุสาเหตุหลักที่ก่อปัญหาเกิดความสูญเปล่า • Brain stroming • MUDA 7 ประการ ความสูญเปล่า คือ อะไร ? MUDA7 ประเภทในกระบวนการ 1. การผลิตเกินจำเป็น 2. การรอคอย 3. การเคลื่อนย้าย 4. กระบวนการผลิตที่เกินความจำเป็น 5. การเก็บวัสดุคงคลัง 6. การเคลื่อนไหว 7. การผลิตของเสีย/ Rework
จากการวิเคระห์กระบวนการหลัก พบ MUDAมากที่สุดในขั้นตอนการรอคอยของผู้ป่วย • เนื่องจากเมื่อแพทย์สั่งแผนการรักษาแล้ว จะเยี่ยมอาการผู้ป่วยของตนจนครบแล้ว พยาบาลหัวหน้าเวรถึงได้รับแผนการรักษาและเสียเวลาการรอคอยยาจากห้องยา แผนกผู้ป่วยในชั้น 12 จึงมีความประสงค์ที่จะแก้ไข MUDA ในเรื่องการรับแผนการรักษา stat. dose
5. ปรับปรุงเพื่อลดความสูญเปล่า : ECRS • Eliminate ( การจำกัด : what, why ) • Combine ( รวม :when ) • Re-arrange ( ลำดับใหม่ : where ) • Simplify ( ปรับปรุงใหม่ : how )