1 / 18

สถิติเพื่องานอาชีพ Statistic for Careers

สถิติเพื่องานอาชีพ Statistic for Careers. 4000-4105 3 (3-0-6) Week 4. สุร ศักดิ์ เก้าเอี้ยน. สถิติอนุมาน : การ ทดสอบ เอฟ ( F-test ). ใช้เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของ ประชากร ตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้นไป ใช้หลักการวิเคราะห์ความแปรปรวน ( An alysis o f va riance: ANOVA)

varick
Download Presentation

สถิติเพื่องานอาชีพ Statistic for Careers

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถิติเพื่องานอาชีพStatistic for Careers 4000-41053 (3-0-6) Week 4 สุรศักดิ์ เก้าเอี้ยน

  2. สถิติอนุมาน: การทดสอบเอฟ (F-test) • ใช้เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของประชากรตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้นไป • ใช้หลักการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of variance: ANOVA) • ประเภทของ ANOVA (ANOVA-family)

  3. สถิติอนุมาน: การทดสอบเอฟ (F-test) • F = MSB= Mean Square Between Group MSW= Mean Square Within Group • มีลักษณะโค้งการกระจายเป็นเบ้ขวา • H0: 1 = 2 = 3 =…=nH1:มี อย่างน้อย 1คู่ที่ไม่เท่ากัน • H0: i= j เมื่อ i≠ jH1: i≠j เมื่อ i≠ j จุดวิกฤต ไม่ยอมรับH0 ยอมรับ H0

  4. สถิติอนุมาน: การทดสอบเอฟ (F-test) • การวิเคราะห์ความแตกต่างรายคู่ • วิธีที่ 1 การวิเคราะห์ความแตกต่างก่อนหน้า (priori test) • วิธีที่ 2 การวิเคราะห์ภายหลัง (post-hoc test) • สถิติแนะนำ เมื่อแต่ละกลุ่มมีความแปรปรวนไม่แตกต่างกัน: Bonferroni • สถิติแนะนำ เมื่อแต่ละกลุ่มมีความแปรปรวนแตกต่างกัน: Games-Howell • การวิเคราะห์ความแปรปรวนของแต่ละกลุ่ม • ใช้สถิติ Homogeneity of variance test

  5. SPSS: ANOVA • Analyze > Compare Mean >One-way ANOVA • IV ต้องเป็นตัวแปรจัดจำแนก • DV ต้องเป็น ตัวแปรต่อเนื่อง • CV ต้องเป็น ตัวแปรต่อเนื่อง

  6. SPSS: ANOVA

  7. SPSS: ANOVA

  8. SPSS: ANOVA • Post Hoc Comparisons

  9. ตัวอย่างการรายงานผลการวิเคราะห์ตัวอย่างการรายงานผลการวิเคราะห์

  10. สถิติอนุมาน: การวิเคราะห์การถดถอย • เป็นการพยากรณ์ค่าของตัวแปรตามจากตัวแปรทำนาย หรือตัวแปรอิสระ ที่มีอิทธิพลต่อตัวแปรตามนั้นๆ • ประเภทของการวิเคราะห์การถดถอย • การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย (simple regression) • การพยากรณ์ตัวแปรตาม โดยมีตัวแปรทำนายเพียงตัวแปรเดียว • การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (multiple regression) • การพยากรณ์ตัวแปรตาม โดยมีตัวแปรทำนายมากกว่า 1 ตัว • อิทธิพล จาก X -> Y • หมายถึง X ต้องเกิดก่อน Y และเมื่อ X เปลี่ยนแปลงไป Y จะเปลี่ยนแปลงตามอย่างมีทิศทาง

  11. การวิเคราะห์ถดถอยอย่างง่ายการวิเคราะห์ถดถอยอย่างง่าย • เป็นการประยุกต์ใช้หลักการของสมการเชิงเส้น • ใช้ตัวแปรทำนายเพียงตัวแปรเดียวพยากรณ์ตัวแปรตาม • Y = a + bX + e • Zy = α + (Zx) • b คือ ขนาดอิทธิพลที่ X มีต่อ Y • X เปลี่ยนแปลงไป 1 หน่วย จะส่งผลให้ Y เปลี่ยนแปลงไป b หน่วย

  12. การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ • ใช้ตัวแปรทำนายมากกว่า 1 ตัวแปร เพื่อพยากรณ์ตัวแปรตาม • Y = a + b1X1+ b2X2+ … + bnXn+ e • Zy = α + 1(Zx1) + 2(Zx2) + ….+ n(Zxn) • b1คือ ขนาดอิทธิพลที่ X มีต่อ Y • X เปลี่ยนแปลงไป 1 หน่วย จะส่งผลให้ Y เปลี่ยนแปลงไป b1 หน่วยเมื่อควบคุมให้ X อื่นๆ มีค่าคงที่

  13. การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ • วิธีการนำตัวแปรทำนายเข้าสู่สมการ • Enter > นำตัวแปรทำนายทุกตัวเข้าสู่สมการพร้อมกัน • Forward> นำตัวแปรทำนายเข้าทีละตัว ตัวใดSig จะออกจากสมการไม่ได้ ตัวใดไม่ Sig จะถูกกำจัดออกจากสมการแล้วไม่นำมาพิจารณาอีก • Backward> นำตัวแปรทำนายทุกตัวเข้าสู่สมการ แล้วค่อยๆ นำตัวที่ไม่ Sig ออก • Remove > คัดตัวแปรอิสระหนึ่งตัวหรือหลายตัวออกจากเส้นถดถอย ซึ่งจะใช้ควบคู่กับวิธี Enter • Stepwise > คัดเลือกทีละตัว โดยเอาตัวที่มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตามสูงสุดเข้าไปก่อน แล้วจึงค่อยเอาตัวแปรที่มีความสัมพันธ์บางส่วนเข้า จากนั้นก็นำตัวก่อนหน้าออก ทำเช่นนี้จนครบทุกตัว • All possible > วิเคราะห์ความเป็น

  14. SPSS : Regression

  15. SPSS : Regression

  16. SPSS : Regression

  17. SPSS : Regression

  18. ตัวแปรหุ่น (Dummy) • เป็นตัวแปรที่มีค่าเพียง 2 ค่าคือ 0 และ 1 • ตัวแปรจัดกลุ่ม ปกติไม่สามารถนำเข้าสมการถดถอยได้โดยตรง • ต้องแปลงระดับตัวแปรจัดกลุ่มที่มีมากกว่า 2 ค่า ให้มีค่าเพียง 2 ค่า เพื่อให้สามารถเข้าสู่สมการได้ • จำนวนตัวแปรหุ่นที่ต้องสร้าง จะมีจำนวนเท่ากับ K-1 • เมื่อ K คือ ระดับของตัวแปรจัดกลุ่มนั้นๆ

More Related