1 / 13

CQI หน่วย ECT

CQI หน่วย ECT. เรื่อง การปรับปรุงการบริการด้วยกลิ่น บำบัด ใน ผู้ป่วยรักษาด้วยไฟฟ้าเพื่อคลายความวิตกกังวล ปีงบประมาณ 2556 เดือนตุลาคม 2555 –กุมภาพันธ์ 2556. ผู้รับผิดชอบ. นางศรีอุบล บำรุง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ นางกนกวรรณ ประชุมราศี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

zurina
Download Presentation

CQI หน่วย ECT

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. CQIหน่วย ECT เรื่อง การปรับปรุงการบริการด้วยกลิ่นบำบัด ในผู้ป่วยรักษาด้วยไฟฟ้าเพื่อคลายความวิตกกังวล ปีงบประมาณ 2556 เดือนตุลาคม 2555 –กุมภาพันธ์ 2556

  2. ผู้รับผิดชอบ • นางศรีอุบล บำรุง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ • นางกนกวรรณ ประชุมราศี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ • นายจรูญ ประสาทศรี พนักงานช่วยเหลือคนไข้ • นางเจียมใจ มีคำนิตย์ ช่างตัดเย็บผ้า • นายอนุสรณ์ คำสุนี พนักงานช่วยเหลือคนไข้ • นายถาวร ทองผาย พนักงานช่วยเหลือคนไข้ • นายปวิชญา อวยพร พนักงานช่วยเหลือคนไข้ • นายอภินันท์ หอมสมบัติ พนักงานช่วยเหลือคนไข้ ระยะเวลาดำเนินการ ตุลาคม – กุมภาพันธ์ 2556 ปีงบประมาณ 2556

  3. Quality gap • ในปีงบประมาณ 2555 ที่ผ่านมามีการใช้กลิ่นบำบัดในห้องพักฟื้นผู้ป่วยหลังทำ ECT เพื่อคลายความวิตกกังวลของผู้ป่วยแต่จากการสอบถามผู้ปฏิบัติงาน พบว่า การใช้กลิ่นบำบัดโดยการจุดจากเตาให้น้ำมันหอมระเหย มีความยุ่งยากในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ บางครั้งการจุดเทียนหอมระยะเวลานานผู้ปฏิบัติงานได้กลิ่นนานๆแล้วมีอาการวิงเวียนศีรษะ ทำให้การใช้กลิ่นบำบัดไม่สามารถทำได้ต่อเนื่อง • ทีมผู้รับผิดชอบเห็นว่าการใช้กลิ่นบำบัดมีส่วนในการช่วยให้เกิดความผ่อนคลาย จึงพิจารณานำมาเป็นโอกาสในการพัฒนาปรับปรุงการบริการด้วยกลิ่นบำบัดในผู้ป่วยรักษาด้วยไฟฟ้า

  4. การวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุของปัญหาการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุของปัญหา • การวิเคราะห์ปัญหา ใช้ is-is not • วิเคราะห์หา ต้นเหตุ(Root causes)ของการด้อยคุณภาพที่ค้นพบ ใช้แผนภูมิก้างปลา • วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของสาเหตุต่างๆ ด้วย Relation diagram สาเหตุของการทำกลิ่นบำบัดไม่ต่อเนื่อง จากการวิเคราะห์หาต้นเหตุ พบต้นเหตุของปัญหา ดังนี้ • 1.การทำกลิ่นบำบัดไม่ใช่เรื่องที่ตรงกับผู้รับผิดชอบเรียน • 2.เทียนหอม น้ำมันหอมระเหยเป็นวัสดุที่ไม่มีในคลังพัสดุ ต้องเบิกโดยพัสดุ

  5. กำหนดทางเลือกที่จะการจัดการต้นเหตุกำหนดทางเลือกที่จะการจัดการต้นเหตุ • ระดมสมองหาทางเลือกในการแก้ต้นเหตุแต่ละต้นเหตุ เลือกวิธีนี้เลย

  6. กำหนดทางเลือกในการแก้ปัญหากำหนดทางเลือกในการแก้ปัญหา • โดยใช้เครื่องมือ criteria weighting และใช้เกณฑ์ในการตัดสินใจตามที่กำหนดไว้

  7. กำหนดทางเลือกในการแก้ปัญหากำหนดทางเลือกในการแก้ปัญหา กำหนดทางเลือก(ต่อ)

  8. สรุปทางเลือกในการแก้ปัญหาสรุปทางเลือกในการแก้ปัญหา

  9. สรุปทางเลือกในการแก้ปัญหาสรุปทางเลือกในการแก้ปัญหา

  10. ทดลองดำเนินการจัดการต้นเหตุทดลองดำเนินการจัดการต้นเหตุ • ได้ดำเนินการตามทางเลือก แล้วมีการติดตามตัวชี้วัดในเดือนธันวาคม 2555 – มกราคม 2556 กำหนดตัวชี้วัดใช้ตัวชี้วัดที่วัด Quality gap เป็นหลัก การทดลองครั้งนี้ได้ใช้ • ร้อยละของการทำกลิ่นบำบัดตามแผนที่กำหนด (ภายในเดือนธันวาคม 2555 – มกราคม 2556 กำหนดไว้ ทั้งหมด 23 ครั้ง) กำหนดเป้าหมาย ร้อยละ 100 • ร้อยละของผู้ป่วยรักษาด้วยไฟฟ้ามีความรู้สึกวิตกกังวลลดลงหลังบำบัดกำหนดเป้าหมายมากกว่า ร้อยละ 80

  11. ประเมินผลการทดลอง • 1. การตรวจสอบข้อมูลใน ตารางตรวจสอบความต่อเนื่องในการทำกลิ่นบำบัดทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์พบว่า มีการทำกลิ่นบำบัดทั้งหมด 23 ครั้ง ซึ่งเป็นไปตามแผนที่กำหนดคิดเป็น ร้อยละของการทำกลิ่นบำบัดตามแผนที่กำหนด = ร้อยละ 100 • 2. การประเมินผลจากความรู้สึกวิตกกังวลของผู้ป่วยรักษาด้วยไฟฟ้าก่อนเข้าห้อง บำบัดกับหลังการบำบัด • พบว่าในเดือนธันวาคม 2555 – เดือนมกราคม 2556 มีจำนวนผู้ป่วยรักษาด้วยไฟฟ้ารายใหม่ทั้งหมด 31 ราย มีผู้ป่วยที่สามารถตอบแบบประเมินได้จำนวน 22 ราย คิดเป็นร้อยละ 71 • ผู้ป่วยที่มีความรู้สึกวิตกกังวลลดลงหลังการบำบัดด้วยกลิ่นบำบัด จำนวน 19 ราย คิดเป็น ร้อยละ 86.36 เป็นไปตามเป้าหมาย

  12. ขยายผลปรับปรุงระบบ • นำการใช้กลิ่นบำบัดเพิ่มในห้องเตรียมผู้ป่วยก่อนบำบัด • สิ่งที่หน่วยงานวางแผนจะขยายผลได้แก่ ปรับปรุงการกลิ่นบำบัดในอุปกรณ์ที่ใช้กับผู้ป่วย เช่น นำผ้าเย็นที่ใช้เช็ดหน้าผู้ป่วยอบกลิ่นมะลิ ฯลฯ หรือศึกษาความรู้เรื่องการแพทย์ทางเลือกที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับผู้ป่วย เช่น การลดปวด น้ำสมุนไพร ฯลฯ

  13. สูตรในการทำกลิ่นบำบัดสูตรในการทำกลิ่นบำบัด จำนวน 5 ต้น อุปกรณ์ จำนวน 10 ใบ ตวงน้ำประปา ใส่หม้อ จำนวน 1.8 ลิตร วิธีทำ ล้างทำความสะอาดต้นตะไคร้หอม ตัดรากทิ้ง ตามจำนวน เลือกใบมะกรูดที่แก่จัด ล้างทำความสะอาด ตามจำนวน ตวงน้ำใส่หม้อหุงข้าวตามจำนวน นำตะไตร้หอมและใบมะกรูดใส่ในหม้อหุงข้าว เสียบปลั๊กหม้อหุงข้าว ควรต้มก่อนเวลาปฏิบัติงานประมาณ ½ - 1 ชั่วโมง เพื่อให้กลิ่นน้ำมันระเหย มีกลิ่นหอมจัด เปิดฝาหม้อ เพื่อให้กลิ่นน้ำมันระเหย กระจายทั่วห้องบำบัดและห้องพักฟื้น ถอดปลั๊กหม้อหุงข้าว เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติงาน

More Related