1 / 16

Principal pathology of Infection พยาธิวิทยาการติดเชื้อ

Principal pathology of Infection พยาธิวิทยาการติดเชื้อ. โดย รศ.นพ.สรรเพชญ เบญจวงศ์กุลชัย ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เชื้อจุลชีพแบ่งออกได้ดังนี้. ไวรัส (Virus) บักเตรี (Bacteria) เชื้อรา (Fungus) ปาราสิต (Parasite) แคลมมีเดีย (Chlamydiae)

Pat_Xavi
Download Presentation

Principal pathology of Infection พยาธิวิทยาการติดเชื้อ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Principal pathology of Infectionพยาธิวิทยาการติดเชื้อ โดย รศ.นพ.สรรเพชญ เบญจวงศ์กุลชัย ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  2. เชื้อจุลชีพแบ่งออกได้ดังนี้เชื้อจุลชีพแบ่งออกได้ดังนี้ • ไวรัส (Virus) • บักเตรี (Bacteria) • เชื้อรา (Fungus) • ปาราสิต (Parasite) • แคลมมีเดีย (Chlamydiae) • ริคเกทเซีย (Rickettsiae) • ไมโครพลาสม่า (Mycoplasmas)

  3. เชื้อจุลชีพเข้าสู่ร่างกายคนได้หลายทาง (route of infection) • ทางผิวหนัง (skin) และเยื่อหุ้มตา (conjunctive) • ทางเดินหายใจ (respiratory tract) • ทางปาก(oral) • ทางเพศสัมพันธ์(sexual contact) • ทางเดินปัสสาวะ(urinary tract) • ผ่านทางรก(Transplacental route) • ถ่ายเลือด(Blood transfusion)

  4. ทางผิวหนัง (skin) และเยื่อหุ้มตา (conjunctive) • Malaria –ยุงกัดคน ทางผิวหนังปล่อยเชื้อเข้าสู่กระแสเลือด • filariform - Strongyloides stercolaris และ (hook worms) ตัวอ่อนระยะ cercariae (Schistosoma spp) • Staphylococcus aureus, Staphylococus epidermidis • Chlamydia trachomatis

  5. ทางเดินหายใจ (respiratory tract) • ไวรัส บักเตรี เชื้อรา • Pnuemonia • ไวรัส ได้แก่ หัด (measles) หรือ อีสุกอีใส (chickenpox) เป็นต้น

  6. ทางปาก(oral) • ไข่หรือตัวอ่อนระยะติดต่อ • บักเตรี (เช่น Salmonella typhi ) • hepatitis A และ E viruses, poliovirus และrotavirus เป็นต้น • น้ำลายของผู้ป่วย เช่น เชื้อ HIV, herpesviruses และ mumps viruses เป็นต้น

  7. ทางเพศสัมพันธ์(sexual contact) • Treponema pallidum (โรคซิฟิลิส) • Neisseria gonorrhoeae (โรคหนองใน) • Chlamydia trachomatis • Herpes simplex virus [HSV-2] • papillomaviruses • Trichomonas vaginalis • เชื้อ HIV

  8. ทางเดินปัสสวะ(urinary tract) • Escherichia coli • Trichomonas vaginalis • Neisseria gonorrhoeae

  9. ผ่านทางรก(Transplacental route) • Toxoplasma gondii (Toxoplasmosis) • Treponema pallidum (โรคซิฟิลิส) • HIV • HBV (Hepatitis B virus)

  10. ถ่ายเลือด(Blood transfusion) • HIV • HBV (Hepatitis B virus)

  11. ด่านป้องกันการติดเชื้อจุลชีพเข้าสู่ร่างกายได้แก่ด่านป้องกันการติดเชื้อจุลชีพเข้าสู่ร่างกายได้แก่ • ด่านป้องกันชั้นแรก • ผิวหนัง (skin) • เยื่อบุผิว (mucosal surface) • ผลผลิตที่เป็นน้ำย่อยและสิ่งขับถ่าย (secretory and excretory by-products) • เชื้อจุลชีพที่อาศัยอยู่ตามปกติ ในอวัยวะ (Normal flora) • ด่านป้องกันชั้นที่สอง • การอักเสบ (inflammation) • ภูมิคุ้มกัน (immune response) • Humoral immune : Antibody • Cell-mediated immune : MPS

  12. เชื้อจุลชีพเมื่อเข้าสู่ร่างกายแบ่งตามที่อยู่อาศัยได้ดังนี้เชื้อจุลชีพเมื่อเข้าสู่ร่างกายแบ่งตามที่อยู่อาศัยได้ดังนี้ อาศัยอยู่ในเซลล์ (intracellular) ต้องอยู่ในเซลล์เท่านั้น (obligate intracellular) poliovirus, Chlamydia trachomatis, Rickettsia prowazekii, Leishmania donovani บางขณะอยู่ในเซลล์ (facultative intracellular) Histoplasma capsulatum, Trypanosoma cruzi, Mycobacterium tuberculosis อาศัยอยู่นอกเซลล์ (extracelluar)Mycoplasma pneumoniae, Streptococcus pneumoniae, Trypanosoma gambiense, Wuchereria bancrofti อยู่ที่ผิวหนัง (cutaneous)Staphylococcus epidermidis, Trichophyton sp. อยู่ที่เยื่อบุผิว (mucosa)Vibrio cholerae, Giardia lambia, Enterobius vermicularis (oxyuriasis พยาธิเข็มหมุด). Candida albicans (Thrushในปาก)

  13. เชื้อจุลชีพเมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วกระจายไปในอวัยวะต่างๆได้หลายทางเชื้อจุลชีพเมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วกระจายไปในอวัยวะต่างๆได้หลายทาง หลอดเลือด (Hematogenous spread)พัดพาไปตามกระแสโลหิต อาศัยอยู่ในเซลล์กินสิ่งแปลกปลอม (migratory macrophages) เช่นเชื้อไวรัส HIV-1 อาศัยอยู่ในเม็ดเลือดแดงเช่นเชื้อมาเลเรียเป็นต้น พัดเกาะติดไปกับวัตถุลอยในกระแสเลือด (emboli) ท่อน้ำเหลือง (Lymphatic spread)ไปตามกระแสน้ำเหลือง แพร่กระจายโดยตรงไปยังอวัยวะข้างเคียง (Direct extension) แพร่กระจายไปตามของเหลวในร่างกาย (tissue fluid spread) แพร่กระจายไปตามเส้นประสาท (neural spread) Rabies,Varicella zoster แพร่กระจายผ่านรกเข้าสู่ทารกในครรภ์ (placental-fetal route) HIV, hepatitis B virus, Treponema pallidum (syphilis), toxoplasma gondii

  14. เชื้อจุลชีพก่อให้เกิดพยาธิสภาพร่วมที่สำคัญได้แก่ • Serous inflammation including epidemal exfoliation • Catarrhal inflammation • Suppurative inflammation (การอักเสบเป็นหนอง) • Hemorrhagic inflammation • Membranous inflammation • Pseudomembranous inflammation • Gangrenous inflammation • Granulomatous inflammation • Ulcer (แผล) • Cellulitis • Chronic interstitial inflammation • Cellular inclusion bodies

  15. Carcinogenesis Without specific pathologic morphological changes Anemia

  16. เชื้อจุลชีพพวกฉวยโอกาส (Opportunistic and AIDS-associated infectiions) • Cytomegalovirus (CMV) • Pneumocystis carinii • Cryptosporidium parvum • Toxoplasma gondii • Candida sp. (Candida albicans) • Cryptococcus neoformans • Aspergillus sp. • Mucor • Pseudomonas aeruginosa

More Related