130 likes | 272 Views
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556. ค่าบริการที่ประมาณการจ่ายเบื้องต้น สป.สธ. 2556 ประกอบด้วย 4 รายการได้แก่. 1. ค่าบริการ OP ที่จ่ายแบบเหมาจ่ายตาม ประชากร 2. เงินเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง 3 . ค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
E N D
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัวสำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ.2556
ค่าบริการที่ประมาณการจ่ายเบื้องต้น สป.สธ.2556 ประกอบด้วย 4 รายการได้แก่ 1. ค่าบริการOP ที่จ่ายแบบเหมาจ่ายตามประชากร 2. เงินเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง 3. ค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 3.1 จ่ายแบบเหมาจ่ายตามประชากร(PP Expressed demand) 3.2 บริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน 4. ค่าบริการ IP ทั้งบริการในเขตและนอกเขต
การจัดสรรค่าบริการ OP Capitation • จัดสรรเบื้องต้นโดยใช้ฐานประชากร UC ณ กรกฎาคม 2555 ด้วยอัตรา Diff Capitation ระดับจังหวัด + อัตราเท่ากัน ที่ 171.01 บาท ต่อหัวประชากร UC • สำหรับหน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการใหม่ใน ปีงบประมาณ 2556 หรือรับโอนประชากรจากหน่วยบริการอื่นจะมีการปรับฐานประชากรตามข้อมูลที่ได้ประสานเพิ่มเติมกับสปสช.เขต
ประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญงบผู้ป่วยนอกแบบจ่ายรายหัวประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญงบผู้ป่วยนอกแบบจ่ายรายหัว
หลักเกณฑ์การจ่ายงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูงหลักเกณฑ์การจ่ายงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง • บริหารจัดการเป็นภาพรวมระดับประเทศ • ใช้ผลการศึกษาสมการต้นทุน (cost function) ของหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ (CUP) ที่มีโรงพยาบาลขนาด 10 -120 เตียง และข้อมูลงบการเงินของหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ โดยประยุกต์จ่ายดังนี้ • 1. เปรียบเทียบผลการคำนวณตาม cost function กับการคำนวณ OP Cap หากมากกว่าให้จ่ายงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูงเท่ากับผลต่างระหว่างผลการคำนวณcost function กับ OP Cap • 2. สำหรับจังหวัดที่มีประชากร UC น้อยกว่า 300,000คน ปรับให้ภาพรวมของงบประมาณระดับจังหวัด (เฉพาะค่าบริการOPรวม IPและ PP) หลังหักเงินเดือน ให้ได้ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยของทุกจังหวัดหักหนึ่งส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ค่าเฉลี่ย-1SD) • 3. ให้คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง เป็นผู้พิจารณาจ่ายเพิ่มสำหรับหน่วยบริการเป้าหมายมีภาระในการสงเคราะห์การให้บริการประชากรอื่นๆ เช่น หน่วยบริการในพื้นที่ติดชายแดนของจังหวัดตาก แม่ฮ่องสอน สระแก้ว หรือกรณีอื่นๆ
การจัดสรรเงิน P&P Expressed demand • 1. P&P Expressed Demand แบบเหมาจ่ายรายหัว จำนวน 99.96 บาทต่อหัวประชากรไทย คำนวณอัตราจ่ายเป็นภาพรวมของแต่ละหน่วยบริการประจำและจังหวัด จากข้อมูล 3 ส่วน ได้แก่ • ร้อยละ 50 ตามจำนวนประชากรไทย ณ 1 กรกฎาคม 55 • ร้อยละ 25 ตามจำนวนเป้าผลงานแต่ละกลุ่ม • ร้อยละ 25 จากผลงานบริการปีที่ผ่านมา • 2. คำนวณจัดสรรเบื้องต้นให้กับหน่วยบริการประจำ ตามจำนวนหัวประชากร UC ณ 1 กรกฎาคม 2555 ด้วยอัตราเฉลี่ยต่อหัวประชากรที่คำนวณได้ตามข้อ1 • 3. สำหรับเงินที่เหลือจากการจัดสรรให้กับหน่วยบริการประจำตามข้อ 2 ให้ อปสจ.จัดสรรเพิ่มให้กับหน่วยบริการในจังหวัด Specific group ▪หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด ▪ เด็ก 0-5 ปี ▪ เด็ก 6-13 ปี ▪ ผู้ใหญ่ 30-60 ปี ▪ ผู้สูงอายุ
ประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญงบ P&P Expressed demand
การจัดสรรเงินบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกันการจัดสรรเงินบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน • ค่าใช้จ่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและทันตกรรมป้องกันในกลุ่มเป้าหมายหลักจำนวน 14.08 บาทต่อประชากรไทย • คำนวณจัดสรรเบื้องต้นให้กับหน่วยบริการประจำ ตามจำนวนหัวประชากร UC ณ 1 กรกฎาคม 2555 ด้วยอัตรา 14.08 ต่อหัวประชากร • ให้ อปสจ. พิจารณาปรับเกลี่ยวงเงินและตกลงเป้าหมาย/ผลงานกับหน่วยบริการประจำได้ ตามความเหมาะสมของแต่ละจังหวัด
ประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญงบบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกันประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญงบบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน
การจัดสรรค่าบริการ IP ทั้งที่ให้บริการในเขต และนอกเขต ประมาณการadjRWที่คาดว่าหน่วยบริการจะทำได้ทั้งปีจากผลงานของหน่วยบริการที่ผ่านมา จัดสรรเงิน IP กรณีที่หน่วยบริการให้บริการรักษาผู้ป่วยภายในเขตเดียวกันด้วยอัตราจ่ายเบื้องต้นที่ประมาณการได้ในแต่ละเขต จัดสรรเงิน IP กรณีที่หน่วยบริการให้บริการรักษาผู้ป่วยนอกเขต โดยคำนวณจ่ายอัตรา 9,600 บาทต่อ adjRW
การหักเงินเดือน หน่วยบริการ สป.สธ. • หักเงินเดือนรวมทั้งหมดจำนวน 31,408.15 ล้านบาท เป็นวงเงินเดียวกับปี 55 เนื่องจากอัตราเหมาจ่ายไม่เพิ่มจึงคงหักเงินเดือนเท่าเดิม • ให้หักเงินเดือนเป็นภาพรวมใน ระดับจังหวัด • กรณีที่อาจมีการเกลี่ยระหว่างจังหวัด ให้มีคณะทำงานร่วมระหว่าง สปสช. และ สป.สธ. เป็นผู้พิจารณาโดยให้คำนึงถึงปัจจัยที่มีผลต่อรายได้และค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการตามความเหมาะสม (อนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง มีข้อเสนอแนะว่าควรจะปรับลดค่าแรงสำหรับหน่วยบริการภาครัฐแต่ละจังหวัดไม่เกินค่าเฉลี่ยเงินเดือนต่อหัวประชากร+1SD) • ให้ สปสช.สาขาจังหวัดเป็นผู้เกลี่ยการหักเงินเดือนระหว่าง CUP ภายในจังหวัด
การบริหารของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดการบริหารของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด • เกลี่ยเงินเดือนระหว่าง CUP ในจังหวัด • จัดสรรเงินที่จัดสรรระดับจังหวัดให้กับหน่วยบริการ • การบริหารและการกันเงินของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด • กันเงินค่าวัคซีนพิษสุนัขบ้า • กันเงินเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับกรณีผู้ป่วยนอกรับส่งต่อ (OP Refer) • กันเงินในภาพรวมเพื่อการบริหารระดับจังหวัด