1 / 18

วันพุธที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2556 ณ ห้องประชุมวีนัส โรงแรมพาราไดซ์ จังหวัดอุดรธานี

การสัมมนา พัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพ ระบบเครือข่ายบริการสุขภาพแบบ บูรณา การ เขตสุขภาพเครือข่ายบริการที่ 8 โดย ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. วันพุธที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2556

Download Presentation

วันพุธที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2556 ณ ห้องประชุมวีนัส โรงแรมพาราไดซ์ จังหวัดอุดรธานี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสัมมนา • พัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพ • ระบบเครือข่ายบริการสุขภาพแบบบูรณาการ • เขตสุขภาพเครือข่ายบริการที่ 8 • โดย ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2 • กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ วันพุธที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2556 ณ ห้องประชุมวีนัส โรงแรมพาราไดซ์ จังหวัดอุดรธานี

  2. นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขปี2556นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขปี2556 ข้อที่ 2 เพิ่มคุณภาพระบบหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ โครงการสำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เชื่อมโยงกับนโยบายกระทรวงสาธารณสุขปี2556 1.โครงการพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพการตรวจทางห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขของหน่วยบริการปฐมภูมิ ตัวชี้วัดข้อ11(กระทรวง)/ระบบบริการ 2.โครงการพัฒนาเครือข่ายห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขในเขตสาธารณสุขหน่วยบริการทุติยภูมิ/ตติยภูมิ ตัวชี้วัดข้อ11(กระทรวง)/ระบบบริการ

  3. นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขปี2556นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขปี2556 กับเขตสุขภาพเครือข่ายบริการที่8 เป้าหมายระยะเวลา 1 ปี เขตสุขภาพ/จังหวัด 2.ระบบสนับสนุน/การบริหาร กระบวนการธรรมาภิบาล(ประสิทธิภาพ) ต้นทุนค่ายาและค่าวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์เฉลี่ยลดลง(ร้อยละ10) (ในเขตสุขภาพเฉลี่ยลดลง) ประเด็นหลัก 1.2 ระบบบริการสุขภาพ หัวข้อ 1.2.1 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 1.ระบบบริการ ร้อยละของเครือข่ายห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขได้รับการพัฒนาศักยภาพ/คุณภาพ/หรือรับรองคุณภาพมาตรฐาน (ร้อยละ 70 ของแผนการเนินงาน)

  4. 1.Service Achievement Plan 10 สาขา รายเขต --- รายจังหวัด --- ราย รพ. 1.1 10 สาขา +Area Problem (เช่นมะเร็งท่อน้ำดีอีสาน) +Special (โครงการพระราชดำริ+ สาธารณสุขชายแดน+ยาเสพติด) 1.2 Refer System 1.3 การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย 1.4 ร่วมกับเอกชน,รพ.กระทรวงอื่นๆ 1.5 แผนพัฒนาคุณภาพบริการ 2.Administrative Plan 2.1 เงินบำรุง 2.2 จัดซื้อวัสดุ Labร่วม ,ยาร่วม,วัสดุการแพทย์ร่วม 2.3 แผนบุคลากร 2.4 แผนอภิบาลระบบ เช่นตรวจสอบ/ วัดประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ฯลฯ AERA HEALTH BOARD (เขตสุขภาพ) (PROVIDER BOARD) Purchaser (สปสช.ปกส.กรมบัญชีกลาง ,อปท,รัฐวิสาหกิจ) 3.Invertment Plan เขต 4. แผนส่งเสริมป้องกันโรค และร่วมภาคีเครือข่าย 4.1 กลุ่มวัยต่างๆ (ทารก,0-2 ปี,3-5ปี,นักเรียน,วัยรุ่น+BS)ดูแลเฝ้าระวังสตรีไทย, ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 4.2ป้องกันโรคไม่ติดต่อตามปัญหาของพื้นที่(เช่น อาชีวอนามัย COPD มะเร็งในพื้นที่) 4.3 ควบคุมป้องกันโรคติดต่อ 4.4 อาหารปลอดภัย,สร้างความรอบรู้เรื่องสุขภาพ,ส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคส่วนต่างๆ 4.5สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ(เหล้า บุหรี่ Road Safety) 4.6 DHS 4.7 ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 4.8 ลดตาย อุบัติเหตุ เด็กจมน้ำตาย ฯลฯ

  5. โครงการสำคัญ:กิจกรรมศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่2 ดำเนินการสนับสนุนพื้นที่ 1.โครงการพัฒนาระบบเครือข่ายบริการสุขภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ 2.โครงการประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการ การตรวจเอชไอวีซีโรโลยีแห่งชาติ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป้าหมาย ห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยโรค 320 แห่ง เป้าหมาย ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาล 96 แห่ง - ในสังกัด สป.จำนวน 79 แห่ง - นอกสป.จำนวน 17 แห่ง (รัฐ 8 เอกชน 9)

  6. ตัวชี้วัด 1.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ จำนวนห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ที่เข้าร่วมเป็นเครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพ 96 แห่ง 1.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1.2.1 ตัวชี้วัด(กรม) ร้อยละ 70 ของห้องปฏิบัติกาโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ และตติยภูมิ ดำเนินการระบบคุณภาพตามมาตรฐานห้องปฏิบัติการ (งานเทคนิคการแพทย์หรือ ISO 15189) และเป็นสมาชิกการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ 1.2.2 ตัวชี้วัด (ศวก.) ร้อยละ 70 ของห้องปฏิบัติการทางการแพทย์(สป.)ที่รักษาสถานะภาพและกำลังพัฒนาได้รับการรับรองตามมาตรฐาน (งานเทคนิคการแพทย์หรือISO 15189 ) (29/41 แห่ง)

  7. โครงการ:กิจกรรมสำคัญศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่2 ดำเนินการสนับสนุนพื้นที่ 3.โครงการพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพการตรวจทางห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขของหน่วยบริการปฐมภูมิเครือข่ายบริการที่ 8 เป้าหมายหน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวน 392 แห่ง ( ร้อยละ43ของหน่วยบริการปฐมภูมิ ในพื้นที่ 910แห่ง) 3.1ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ:จำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิได้รับการพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพการตรวจชันสูตรทางห้องปฏิบัติการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของเป้าหมาย 3.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ:ร้อยละ 70 ของหน่วยบริการปฐมภูมิ (รพ.สต.ขนาดใหญ่ 111 แห่ง ศสม. 22 แห่งรวม 133 แห่ง) เข้าร่วมการประเมินคุณภาพการตรวจ ในจำนวน 4 รายการทดสอบ ที่ให้บริการ ได้เอง

  8. 1.โครงการพัฒนาระบบเครือข่ายบริการสุขภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์1.โครงการพัฒนาระบบเครือข่ายบริการสุขภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์

  9. 2.โครงการประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการ การตรวจเอชไอวีซีโรโลยีแห่งชาติ สาขา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2.2.จัดสัมมนาสมาชิกเครือข่าย

  10. จำนวนห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลเขตสุขภาพเครือข่ายบริการที่ 8 กับการพัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์

  11. กลุ่มห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลที่ควรพัฒนา จำนวน 33 แห่ง

  12. กลุ่มห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลที่ควรพัฒนาจำนวน 33 แห่ง

  13. กลุ่มห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลที่อยู่ในระหว่างรักษาสถานะภาพกลุ่มห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลที่อยู่ในระหว่างรักษาสถานะภาพ 1.รพ.โคกศรีสุพรรณ ครบกำหนด 20 ก.ค.55 2.รพ.กุมภวาปี ครบกำหนด 21 ก.ย.55 ตรวจ-แก้ไข รอการรับรอง 3.รพ.บ้านผือ ครบกำหนด 27 ก.ย.55 ตรวจ-แก้ไข รอการรับรอง 4.รพ.หนองหาน ครบกำหนด 13 ต.ค.55 5.รพ.หนองคาย ครบกำหนด 15 ต.ค.55 6.รพ.ร.ธาตุพนม ครบกำหนด 27 ต.ค.55

  14. 3.โครงการพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพการตรวจทางห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขของหน่วยบริการปฐมภูมิเครือข่ายบริการที่ 8

  15. ข้อมูล ศสม.และรพ.สต. เขตสุขภาพเครือข่ายบริการที่ 8

  16. เป้าหมายดำเนินการพัฒนาศสม.และรพ.สต.ปี 2556

  17. ช่องทางการติดต่อสื่อสารช่องทางการติดต่อสื่อสาร เข้าเว็บไซต์ www.google.com พิมพ์คำว่า ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2 เลือกงานพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการในเครือข่าย EQA-HIV NEONATAL SCREENING โครงการพัฒนาระบบคุณภาพ รพ.สต.

  18. ช่องทางการติดต่อสื่อสารช่องทางการติดต่อสื่อสาร • การติดต่อสื่อสาร ทางจดหมายอิเล็คทรอนิคส์ (E-mail) E-mail : jintanaw005@hotmail.com : jintana.w@dmsc.mail.go.th • การติดต่อสื่อสารทางโทรศัพท์/โทรสาร หมายเลขโทรศัพท์ : 0 4220 7364-66 ต่อ 108-109 : 0 4220 7369(สายตรง) : 08 8549 0596 , 09 0197 6483 หมายเลขโทรสาร : 0 42207 367,0 4220 7369 • รายชื่อผู้ประสานงาน ทนพญ.จินตนา ว่องวิไลรัตน์ นักเทคนิคการแพทย์ชำนาญการพิเศษ โทร 08 6219 2891 นายสุพัฒชัย ปราบศตรู นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ โทร 08 1053 1261 น.ส.วรัญชนก ครุฑราช เจ้าพนักงานธุรการ โทร 08 1799 3675

More Related