720 likes | 978 Views
ประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงาน ปี 2556. 23 มกราคม 2556. ประเด็นการประชุม. ชี้แจงตัวชี้วัดตรวจราชการ ปี 56 ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด KPI templete , เอกสารที่เกี่ยวข้อง, แบบรายงานผล การดำเนินงานตามตัวชี้วัด กำหนดการตรวจราชการและนิเทศงานของสำนักตรวจและ สสจ .ตรัง
E N D
ประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงาน ปี 2556 23 มกราคม 2556
ประเด็นการประชุม • ชี้แจงตัวชี้วัดตรวจราชการ ปี 56 • ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด • KPI templete, เอกสารที่เกี่ยวข้อง, แบบรายงานผล การดำเนินงานตามตัวชี้วัด • กำหนดการตรวจราชการและนิเทศงานของสำนักตรวจและสสจ.ตรัง • การรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด เพื่อจัดทำเอกสารและ Powerpoint สรุปผลการดำเนินงาน ตามแผนการตรวจราชการและนิเทศงาน ปี 2556
ยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ปี 2556 การตรวจราชการฯ ปี 2556 # 85 107 KPI Specific Issue # 18 Basic PP Service # 20 Strategic Focus # 69 KPI ระดับจังหวัด # 66 KPI ระดับเครือข่าย # 23+2 (CD)
ยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข ปี 2556 Strategic Focus
ยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข ปี 2556 Basic PP Service Specific Issue
การตรวจราชการฯ ปี 2556 Specific Issue Strategic Focus & Basic PP Service ผลผลิต กระบวนการ ประสิทธิภาพ การบริหาร จัดการ • KPI 68 ตัว • ส่งเสริมสุขภาพควบคุม • ป้องกันโรค # 45 ตัว • ระบบบริการ #15 ตัว • บริหารจัดการ # 8 ตัว • KPI 17 ตัว • โครงการพระราชดำริ & พื้นที่สูง • ต่างประเทศ & ASEAN • แรงงานต่างด้าว& Border Health • Medical hub & PPP • ยาเสพติด • ปัญหาเฉพาะพื้นที่
การตรวจราชการ & นิเทศงานปี 2556 2. การตรวจติดตามภารกิจเฉพาะและบูรณาการ 1. การตรวจติดตามภารกิจหลักของกระทรวง 2.1 การตรวจติดตาม ภารกิจเฉพาะ 2.2 การตรวจราชการ แบบบูรณาการ 1.1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค 1.2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 1.3 การบริหารจัดการระบบสุขภาพ 2 ภารกิจ 5 ประเด็นหลัก 18 หัวข้อ
1. การตรวจติดตามภารกิจหลักของกระทรวง 1.1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค 1.2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 1. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 2. การจัดการด้านการแพทย์และ สาธารณสุขฉุกเฉิน 3. การมีส่วนร่วมของภาคประชาขน 1. กลุ่มแม่และเด็ก 2. กลุ่มเด็กปฐมวัย 3. กลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน 4. กลุ่มวัยทำงาน 5. กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ 6. สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อ ต่อการดำเนินงานด้านสุขภาพ 7. ความรอบรู้ด้านสุขภาพ 1.3 การบริหารจัดการระบบสุขภาพ 1. การบริหารการเงินการคลัง ระดับเขตและจังหวัด
2. การตรวจติดตามภารกิจเฉพาะและบูรณาการ 2.1 การตรวจติดตามภารกิจเฉพาะ 2.2 การตรวจราชการ แบบบูรณาการ 1. โครงการระราชดำริ/เฉลิมพระเกียรติ 2. การสาธารณสุขชายแดน (Border Health) 3. ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical hub) 4. การร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน (Public Private Partnership : PPP) 5. การสาธารณสุขระหว่างประเทศในอาเซียน 6. การสาธารณสุขจังหวัดชายแดนภาคใต้ 1. การป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด
กำหนดรอบการตรวจราชการกำหนดรอบการตรวจราชการ ปีละ 2 รอบ รอบที่ 1 กุมภาพันธ์ – มีนาคม 2556 รอบที่ 2 มิถุนายน – 15 สิงหาคม 2556
เขตพื้นที่เครือข่ายบริการ 12 เครือข่าย
ข้อมูลที่ใช้ในการตรวจราชการข้อมูลที่ใช้ในการตรวจราชการ ข้อมูลรายงาน 21 แฟ้ม 43 แฟ้ม รายงานปกติ ที่มีอยู่แล้ว ของกรมวิชาการ การสำรวจ การทำวิจัย ของกรมวิชาการ การตรวจ ติดตาม ประเมินผล
คณะที่ 1แผนงาน PP กลุ่มวัย 15 ม.ค.2556
องค์ประกอบของแผนงานส่งเสริมป้องกันกลุ่มวัยองค์ประกอบของแผนงานส่งเสริมป้องกันกลุ่มวัย แผนสุขภาพทารก 0-2 ปี แผนสุขภาพผู้สูงอายุ แผนสตรีตั้งครรภ์คุณภาพ แผนสุขภาพเด็กปฐมวัย 3-5 ปี แผนคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็ง เต้านม แผนสุขภาพเด็กวัยเรียน (6-12 ปี) และเยาวชน แผนสุขภาพวัยรุ่น แผนป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กาให้บริการหญิงตั้งครรภ์ที่พึงได้รับ -นมแม่ -พัฒนา 4 ด้าน -การเจริญ เติบโต -รูปร่าง/ส่วนสูง -สุขภาพ ช่องปาก -วัคซีน เด็กปฐมวัยมีคุณภาพและบทบาทพ่อ-แม่ในการเลี้ยง ดูแลปฐมวัย -พัฒนาการ 4ด้าน -การเจริญเติบโต -รูปร่าง/ส่วนสูง -สุขภาพ ช่องปาก -วัคซีน การเข้าถึงกลุ่มวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยง -เพศสัมพันธ์ -บุหรี แอลกอฮอล์ -ยาเสพติด -พฤติกรรมอารมณ์ คลินิก NCDคุณภาพ (ขยายความครอบคลุมการตรวจภาวะแทรกซ้อน มะเร็งเต้านม -การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง -การสร้างความตระหนักผ่านสื่อและการประเมิน ดูแลผู้สูงอายุคุณภาพ -เบาหวาน/ ความดัน -โรคซึมเศร้า -เข่าเสื่อม -สุขภาพ ช่องปาก เด็กนักเรียนมีคุณภาพ 4 ด้าน -พัฒนาการ 4ด้าน -เจริญเติบโต รูปร่าง/ส่วนสูง -สุขภาพช่องปาก -วัคซีน คลินิก NCDคุณภาพ (ขยายครอบคลุมการตรวจภาวะ แทรกซ้อน) คลินิกวัยรุ่น สถานบริการANC&LR คุณภาพ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ คลินิกบริการผู้สูงอายุ WCC คุณภาพ การเข้าถึงบริการของหญิงตั้งครรภ์ ส่งเสริมบทบาทครอบครัวพ่อ- แม่ชุมชน พัฒนาคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก สร้างระบบการดูแลช่วยเหลือ วัยรุ่น เริ่มที่โรงเรียน ลดปัจจัยเสี่ยง ปชก/ชุมชน DPAC แกนนำชุมชน อสม เข้มเข็ง อำเภอ/ตำบล80/ยังแจ๋ว
1. แผนงานการดูแลหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ ติดตาม นิเทศ และรายงาน ส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรคในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์(ANC & LRคุณภาพ) กรม อ. สื่อสาร ปชส. ฝากครรภ์ ครั้งแรก สนับสนุนให้ ฝากครรภ์ได้ทุกสถานบริการ ติดตามการเข้าถึงบริการ กรม สจ. 43 แฟ้ม กรม คร. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรก พัฒนาบริการ ANC&LR คุณภาพ สนับสนุนการจัดบริการ ตรวจติดตามการสนับสนุน กรม พ. สามี ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน ตรวจเลือด ประเมินความเสี่ยง ฟื้นความรู้บุคลากร โภชนาการ เครือข่าย วัคซีน ตกเลือดหลังคลอด แบบประเมินมาตรฐาน ANC&LR ANC คุณภาพ ทีมประเมินรายงานผลทาง e-mail พัฒนามาตรฐานและสนับสนุนคู่มือ LR คุณภาพ
2. แผนการดูแลสุขภาพเด็กแรกเกิดถึง 2 ปี อย่างมีคุณภาพ หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ ติดตาม นิเทศ และรายงาน ส่งเสริมป้องกัน ควบคุมโรคในเด็กแรกเกิดถึง 2 ปี อย่างมีคุณภาพ กรม อ. คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ส่งเสริมบทบาทของครอบครัวพ่อ-แม่-ชุมชน ติดตามการเข้าถึงบริการ กรม สจ. 43 แฟ้ม กรม คร. เด็กที่มีพัฒนาการสมวัย พัฒนาบริการ WCC คุณภาพ สนับสนุนการจัดบริการ ติดตามการพัฒนา WCC คุณภาพ กรม พ. เด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการ เฝ้าระวังโภชนาการ ทีมประเมินรายงานผลทาง e-mail สถานบริการจัดระบบบริการWCC คุณภาพ พัฒนาความรู้บุคลากร พัฒนามาตรฐานและสนับสนุนคู่มือ
3. แผนงานการดูแลสุขภาพเด็กอายุ 3-5 ปี อย่างมีคุณภาพ หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ ติดตาม นิเทศ และรายงาน ส่งเสริมป้องกัน ควบคุมโรคในเด็ก 3-5 ปี อย่างมีคุณภาพ กรม อ. ส่งเสริมให้เกิดและประเมินศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ส่งเสริมบทบาทของครอบครัวพ่อ-แม่ และท้องถิ่น ติดตามการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กฯ กรม สจ. คัดกรอง – ส่ง เสริมพัฒนาการ กรม คร. เด็กที่มีพัฒนาการสมวัย ประเมิน growth ประเมินฟัน กรม พ. สนับสนุนการจัดบริการ ส่งเสริมการจัดบริการ ติดตามการจัดบริการ ปัญหาฟันน้ำนมผุ คัดกรอง-ส่ง เสริมพัฒนาการ เฝ้าระวังโภชนาการ ศูนย์เด็กเล็กระดับดีและดีมาก สำรวจพัฒนาการ ได้รับวัคซีน ทีมประเมินรายงานผลทาง e-mail
3. แผนงานการดูแลสุขภาพเด็กอายุ 3-5 ปีอย่างมีคุณภาพ (ต่อ) หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ ติดตาม นิเทศ และรายงาน ส่งเสริมป้องกัน ควบคุมโรคในเด็ก3-5 ปี อย่างมีคุณภาพ พัฒนาความรู้บุคลากร พัฒนามาตรฐานและสนับสนุนคู่มือ กรม อ. กรม สจ. บูรณาการร่วมกับทุกภาคส่วนผ่านDHS บูรณาการร่วมกับทุกภาคส่วนผ่านDHS ติดตามการจัดทำแผนชุมชน การประชาคม ฯลฯ กรม คร. เด็กที่มีพัฒนาการสมวัย กรม พ. ปัญหาฟันน้ำนมผุ ศูนย์เด็กเล็กระดับดีและดีมาก
4. แผนงานการพัฒนาสุขภาพเด็กนักเรียนอย่างมีคุณภาพ หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ ติดตาม นิเทศ และรายงาน "โครงการนักเรียนไทยสุขภาพดี" กรม อ. พัฒนาศักยภาพ พัฒนาศักยภาพ ติดตามระบบเฝ้าระวัง กรม สจ. ถ่ายทอดนโยบายและผลักดันผ่านเวทีต่างๆ จัดระบบส่งต่อนักเรียนที่มีภาวะอ้วน นิเทศติดตาม กรม คร. สนับสนุนยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก เฝ้าระวัง ให้ความรู้ สนับสนุนสื่อ สื่อสาร 43 แฟ้ม รณรงค์ อาหารกลางวันได้มาตรฐาน คัดกรอง ดูแลกลุ่มเสี่ยง ติดตาม
4. แผนงานการพัฒนาสุขภาพเด็กนักเรียนอย่างมีคุณภาพ (ต่อ) หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ ติดตาม นิเทศ และรายงาน ส่งเสริมพัฒนาด้านสติปัญญาและอารมณ์เด็กวัยเรียน กรม อ. ส่งเสริมพัฒนาสติปัญญา อารมณ์ สนับสนุนการส่งเสริม ติดตามความก้าวหน้า กรม สจ. ชุดเครื่องมือ รณรงค์ กรม คร. พัฒนาเครื่องมือวัดความฉลาด การดูแลสุขภาพช่องปาก กรม อ. ตรวจสุขภาพช่องปากและเคลือบหลุมร่องฟัน ระบบการเฝ้าระวัง อบรมทันตาภิบาล ติดตามการบริการทันตกรรมเคลือบหลุมร่องฟัน สนับสนุนคู่มือ
4. แผนงานการพัฒนาสุขภาพเด็กนักเรียนอย่างมีคุณภาพ (ต่อ) หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ ติดตาม นิเทศ และรายงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค สนับสนุนหนังสือ คู่มือ มาตรฐาน ระบบรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน กรม คร. กรม อ. ทีมประเมินระดับจังหวัดและ ศูนย์อนามัย โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ประเมินโรงเรียน สนับสนุนการดำเนินงาน/คู่มือ กรม สจ. พัฒนาศักยภาพนักเรียนแกนนำ สัมมนาวิชาการโครงงานสุขภาพของนักเรียน กรม คร. ติดตามจำนวนโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม คัดเลือกโครงงานสุขภาพของนักเรียน อย. ส่งเสริมโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม
5.แผนงานพัฒนาสุขภาพวัยรุ่นอย่างมีคุณภาพ5.แผนงานพัฒนาสุขภาพวัยรุ่นอย่างมีคุณภาพ หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ ติดตาม นิเทศ และรายงาน การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคในกลุ่มเด็กวัยรุ่น กรม อ. สนับสนุนการดำเนินงาน "คลินิกวัยรุ่น” ส่งเสริมการ บูรณาการ นิเทศ ติดตาม เยี่ยมสำรวจ กรม สจ. คู่มือ YFHS Teen Center อัตราการใช้ถุงยางอนามัย องค์ความรู้ Psycho- social Clinic เชื่อมระบบ ส่งต่อ การประเมิน ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ เฝ้าระวังสถานการณ์สุขภาพ สื่อสารสาธารณะ ติดตามแผนบูรณาการ สนับสนุนเชิงนโยบาย ติดตามการมีและใช้ข้อมูล สื่อสารสังคม เข้าถึงกลุ่มปัญหา นิเทศการจัดกิจกรรม เชื่อมระบบส่งต่อ รายงาน ประสานความร่วมมือ
5.แผนงานพัฒนาสุขภาพวัยรุ่นอย่างมีคุณภาพ (ต่อ) หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ ติดตาม นิเทศ และรายงาน การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคในกลุ่มเด็กวัยรุ่น บูรณาการ "คลินิกวัยรุ่น" บูรณาการ "คลินิกวัยรุ่น" ติดตามโดยทีมประเมิน กรมวิชาการ อัตราการใช้ถุงยางอนามัย ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ
7. แผนงานการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยจากโรคมะเร็ง หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ ติดตาม นิเทศ และรายงาน การเฝ้าระวังสตรีไทยห่างไกลมะเร็งเต้านม กรม อ. อบรมวิทยากรและ อสม. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ติดตามความก้าวหน้า กรม พ. จัดกิจกรรมรณรงค์ สนับสนุนองค์ความรู้ ร้อยละของสตรีมีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง นิเทศ ติดตาม จัดกิจกรรมรณรงค์ ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะที่ 1 และ 2 สุ่มประเมิน
7. แผนงานการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยจากโรคมะเร็ง (ต่อ) หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ ติดตาม นิเทศ และรายงาน การเฝ้าระวังสตรีไทยห่างไกลมะเร็งปากมดลูก ส่งบุคลากรแพทย์และพยาบาลเข้ารับการอบรม พัฒนาศักยภาพและคุณภาพบริการของบุคลากร ติดตามความก้าวหน้า กรม พ. กรม อ. ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะที่ 1 และ 2 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ รายงานการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ กรม พ. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ กรม อ. รายงานการส่งต่อและได้รับการรักษา รายงานการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะต่างๆ
8. แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ ติดตาม นิเทศ และรายงาน การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคในกลุ่มผู้สูงอายุ พัฒนาคลินิกบริการผู้สูงอายุ ส่งเสริมคลินิกบริการผู้สูงอายุ ติดตามการเข้าถึงบริการ กรม อ. กรม สจ. รายงานโดยการนิเทศ คัดกรอง คู่มือต่างๆ กรม คร. ร้อยละของผู้สูงอายุ ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ พัฒนาศักยภาพ กรม พ. ดำเนินกิจกรรมพัฒนาทักษะ กายใจ พัฒนาศักยภาพหน่วยบริการและบุคลากร ติดตามการพัฒนาทักษะกายใจ รายงานโดยการนิเทศ สนับสนุนให้ชุมชนดำเนินงาน อำเภอ/ตำบล 80 ยังแจ๋ว สนับสนุนการดำเนินงาน (คู่มือ, ประเมิน) ติดตามการจัดทำแผนชุมชน การประชาคม ฯลฯ
สุขภาพจิตในงานสาธารณสุขไทย ปี 2556 ทารก 0-2 ปี ครรภ์คุณภาพ การให้บริการหญิงตั้งครรภ์ ที่พึงได้รับ การประเมิน & การดูแล เครียด เศร้า อัลกอฮอล์ -นมแม่ -พัฒนาการ ANAMAI55-TDSI -การเจริญเติบโต -สุขภาพช่องปาก -วัคซีน สถานบริการ ANC & LR คุณภาพ WCC คุณภาพ การเข้าถึงบริการของหญิงตั้งครรภ์ ส่งเสริมบทบาทครอบครัวพ่อ- แม่ชุมชน
สุขภาพจิตในงานสาธารณสุขไทย ปี 2556 ปฐมวัย 3-5 ปี วัยเรียน (6-12 ปี) -พัฒนาการIQ&EQ -การเจริญเติบโต -สุขภาพช่องปาก -วัคซีน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ(จิต) • พัฒนาคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก • ส่งเสริมบทบาทครอบครัวพ่อ - แม่
สุขภาพจิตในงานสาธารณสุขไทย ปี 2556 วัยรุ่น ผู้สูงอายุ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง คัดกรองมะเร็ง ปากมดลูก/ เต้านม ดูแลผู้สูงอายุคุณภาพ -เบาหวาน/ ความดัน -ซึมเศร้า -เข่าเสื่อม -ช่องปาก เข้าถึงวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยง -เพศสัมพันธุ -บุหรี แอลกอฮอล์ -ยาเสพติด -รุนแรง NCDคุณภาพ ครอบคลุมการตรวจภาวะแทรกซ้อน ซึมเศร้า มะเร็งเต้านม -การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง -การสร้างความตระหนักผ่านสื่อและการประเมิน ระบบดูแลช่วยเหลือวัยรุ่น ในโรงเรียน แกนนำชุมชน อสม เข้มเข็ง คลินิกผู้สูงอายุ คลินิก NCDคุณภาพ คลินิกวัยรุ่น psychosocial clinic OSCC/violence addiction HIV AIDS& การเจ็บป่วยเรื้อรัง อำเภอ/ตำบล80ยังแจ๋ว
“สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการทำงานด้านสุขภาพ”“สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการทำงานด้านสุขภาพ” ตัวชี้วัด ภารกิจที่จังหวัดดำเนินการ ประเด็นการติดตามและนิเทศงาน การสนับสนุนจากหน่วยงานส่วนกลาง 1. สรุปทบทวนผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 เพื่อพิจารณาปัญหาอุปสรรค หาแนวทางแก้ไขใช้ประกอบการจัดทำแผน(แผนเก็บตัวอย่าง) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 2. ดำเนินการตามแผนตรวจสอบ (แผนเก็บตัวอย่าง) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 และมีการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา 3. พัฒนาและส่งเสริมความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในจังหวัด 4. รายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดผ่านระบบ คบส. Online รายไตรมาส 5. สรุปผลการดำเนินงาน วิเคราะห์สภาพปัญหา เพื่อนำไปเป็นข้อเสนอแนะต่อแนวทางการดำเนินงานในปีถัดไป - เอกสารวิชาการ - เอกสารประชาสัมพันธ์ - ช่องทางการสื่อสารข้อมูล บนเว็บไซต์ - ให้คำแนะนำและอบรม ตัวชี้วัดที่ 58 ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (เป้าหมาย ร้อยละ 90) 1.จังหวัดมีแผนการดำเนินงานฯและมีการดำเนินการตรวจสอบ เฝ้าระวังคุณภาพ มาตรฐาน ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ (แผนเก็บตัวอย่าง) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556 2. จังหวัดมีการดำเนินงานตามแผนงานที่กำหนด
“สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการทำงานด้านสุขภาพ”“สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการทำงานด้านสุขภาพ” ตัวชี้วัด ภารกิจที่จังหวัดดำเนินการ ประเด็นการติดตามและนิเทศงาน การสนับสนุนจากหน่วยงานส่วนกลาง 1.จังหวัดมีแผนการดำเนินการตรวจสอบ เฝ้าระวัง สถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 2. จังหวัดดำเนินงานตามแผนงานที่กำหนด ตัวชี้วัดที่ 59 ร้อยละของสถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด(เป้าหมายร้อยละ 90) 1. สรุปทบทวนผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2555 เพื่อพิจารณาปัญหาอุปสรรค หาแนวทางแก้ไขใช้ประกอบการจัดทำแผน(แผนตรวจสถานที่) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 2. ดำเนินการตามแผนตรวจสอบ (แผนตรวจสถานที่) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 และมีการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา 3. พัฒนาและให้คำแนะนำเ พื่อการยกระดับสถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ 4. รายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดผ่านระบบ คบส. Onlineรายไตรมาส 5. สรุปผลการดำเนินงาน วิเคราะห์สภาพปัญหา เพื่อนำไปเป็นข้อเสนอแนะต่อแนวทางการดำเนินงานในปีถัดไป - เอกสารวิชาการ - เอกสารประชาสัมพันธ์ - ช่องทางการสื่อสารข้อมูล บนเว็บไซต์ - ให้คำแนะนำและอบรม
“สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการทำงานด้านสุขภาพ”“สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการทำงานด้านสุขภาพ” ตัวชี้วัด ภารกิจที่จังหวัดดำเนินการ ประเด็นการติดตามและนิเทศงาน การสนับสนุนจากหน่วยงานส่วนกลาง ตัวชี้วัดที่ 60 ร้อยละของผู้ประกอบการอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่ายได้รับอนุญาตสถานที่ผลิตตามเกณฑ์ Primary GMP ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของผู้ที่มายื่นขออนุญาต 1. สำรวจความพร้อมและให้คำแนะนำแนวทางการปฏิบัติให้เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด รวมทั้งรวบรวมข้อมูลของสถานที่ผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย 2.ตรวจสถานที่ผลิตที่มายื่นขออนุญาตตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 342 พ.ศ.2555 (สถานที่ผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย) รายงานผลการดำเนินงาน สรุปผลการดำเนินงาน วิเคราะห์สภาพปัญหา เพื่อนำไปเป็นข้อเสนอแนะต่อแนวทางการดำเนินงานในปีถัดไป - เอกสารวิชาการ - เอกสารประชาสัมพันธ์ - ช่องทางการสื่อสารข้อมูล บนเว็บไซต์ - ให้คำแนะนำและอบรม 1. จังหวัดมีการจัดทำแผนการดำเนินงาน เพื่อพัฒนาอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่ายให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ Primary GMP 2. จังหวัดมีการดำเนินงานตามแผนงานที่กำหนด
www.fda.moph.go.th, www.oryor.com, http://www.facebook.com/fdathai www.foodsafetythailand.net
2.2.การจัดการด้านการแพทย์และสาธารณสุขฉุกเฉิน2.2.การจัดการด้านการแพทย์และสาธารณสุขฉุกเฉิน 2.3.การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน 2.1.การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 2.3.1 การพัฒนา ศักยภาพ อสม. (1 ตัวชี้วัด) 2.3.2 การบริหารจัดการเครือข่าย สุขภาพระดับอำเภอ (1 ตัวชี้วัด) 2.1.1 พัฒนาเครือข่ายบริการ สุขภาพ (3 ตัวชี้วัด) 2.1.2 การวิเคราะห์ศักยภาพ ในการบริการด้านการรักษา พยาบาล (CMI) (1 ตัวชี้วัด) 2.1.3 การพัฒนาระบบส่งต่อ (1 ตัวชี้วัด) 2.1.4การพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานบริการ (5 ตัวชี้วัด) 2.2.1 การจัดการด้านการแพทย์และสาธารณสุขฉุกเฉิน ( 3 ตัวชี้วัด) คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
25 ธ.ค.2555 Key Success Factor 1. Service delivery Model 2. HRM , HCW Development 3. Financing 4. Health Information 5. Medical Equipment and Medical Material supply ,Technology Assessment 6. Governance ยุทธศาสตร์บริการ 1.Satellite OP & OutreachOP 2.Centralize IP 3. OneProvincesameHospital One Region One Ownership กลไกการขับเคลื่อน 1.Leadership -กระทรวง –สป+กรม +สวรส+สปสช+สรพ+เขต จังหวัดฯลฯ -M&E -แก้ปัญหา 2.พลังทางปัญญา -การทำข้อมูลโดยสร้างการมีส่วนร่วมระดับต่างๆทาง Horizontal จากเครือข่ายวิชาชีพ เครือข่ายผู้เชี่ยวชาญต่างๆโดยเฉพาะด้านจัดการบริการ,วิชาการ การบริหารระบบบริการ พลังทางการสื่อสาร -จาก Data Information ความรู้ การปฏิบัติ 3.เครือข่ายวิชาชีพ ในระดับชาติ พวง จังหวัด 4.เครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ 10Care จิตเวช หัวใจ อุบัติเหตุ ไต ตา CFO ฯลฯ 5. วัฒนธรรมการทำงานร่วมกัน “พบส. ยุคใหม่”“พี่น้องช่วยกัน” Seamless & Lean Service One Province Same Hospital One Region One Ownership 6.สำนักงานเครือข่ายบริการ (Strong Secretariat Office) 7. งบประมาณผลักดันและขับเคลื่อนเครือข่ายบริการ ละ5 ล้านบาทและ Non-UC จว.ละ~10ล้านและปรับเปลี่ยนระเบียบที่เป็นอุปสรรค SERVICE ACHIEVEMENT PLAN Purpose 1. BetterService 1) Accessibility - เข้าถึงบริการทุกมิติ 2) Faster -คิวสั้นลง 3) Safer –ตายน้อยลง - โรคแทรกซ้อนน้อยลง 2. MoreEfficiency 1) Management Efficiency CFO , แผนเงินบำรุง , เงินลงทุน UC ระดับต่างๆ ,จัดซื้อร่วม 2) Clinical Efficiency 3) Operational Efficiency-Outsource -ไม่ซ้ำซ้อน คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
1.Service Achievement Plan 10 สาขา • รายเขต รายจังหวัด ราย รพ. • 1.1 10สาขา +Area Problem (เช่นมะเร็งท่อนำดีอีสาน) • +Special (โครงการพระราชดำริ +สาธารณสุขชายแดน • + ยาเสพติด) • 1.2Refer System • .3 การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย • .4 ร่วมกับเอกชน,รพ.กระทรวงอื่นๆ • .5 แผนพัฒนาคุณภาพบริการ • .6 ฯลฯ 2. Administrative Plan 2.1 เงินบำรุง 2.2 จัดซื้อยาร่วม,วัสดุ Lab. ร่วม,วัสดุการแพทย์ร่วม 2.3 แผนบุคลากร 2.4 แผนอภิบาลระบบเช่นตรวจสอบ/วัดประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ฯลฯ Purchaser (สปสช.ปกส.กรมบัญชีกลาง,อปท.,รัฐวิสาหกิจ) AREA HEALTH BOARD (เขตสุขภาพ) (PROVIDER BOARD) 4. แผนส่งเสริมป้องกันโรค และร่วมภาคีเครือข่าย 4.1กลุ่มวัยต่างๆ (ทารก,0-2ปี,3-5ปี,นักเรียน,วัยรุ่น+BS)ดูแลเฝ้าระวังสตรีไทย, วัยทำงาน ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 4.2 ป้องกันโรคไม่ติดต่อตามปัญหาของพื้นที่(เช่น อาชีวอนามัย COPD มะเร็งในพื้นที่) 4.3 ควบคุมป้องกันโรคติดต่อ 4.4 อาหารปลอดภัย ,สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ 4.5 สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ(เหล้า บุหรี่ Road Safety 4.6 DHS ,ส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคส่วนต่างๆ 4.7 ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 4.8 ลดตาย อุบัติเหตุเด็กจมน้ำตาย ฯลฯ 3. Investment Plan เขต
2.1.1 พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพ
มีการบริหารจัดการให้เป็นไปตามแผนมีการบริหารจัดการให้เป็นไปตามแผน พัฒนาศักยภาพระบบบริการของเครือข่าย
2.1.2 การวิเคราะห์ศักยภาพในการบริการด้านรักษาพยาบาล
2.1.4 การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานบริการ
2.2.1 การจดการด้านการแพทย์และสาธารณสุขฉุกเฉิน