330 likes | 526 Views
"แนวปฏิบัติในการสอบแอดมิชชั่น และการเตรียมความพร้อมสอบ GAT/PAT ปี 2556". โดย รศ. ดร. สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). ณ หอประชุมทีปังกรรัศมีโชติ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ วันที่ 11 มกราคม 2556 เวลา 10.00-12.00 น. แนวปฏิบัติในการสอบ Admission.
E N D
"แนวปฏิบัติในการสอบแอดมิชชั่น และการเตรียมความพร้อมสอบ GAT/PATปี 2556" โดย รศ. ดร. สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ณ หอประชุมทีปังกรรัศมีโชติ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ วันที่ 11 มกราคม 2556 เวลา 10.00-12.00 น.
แนวปฏิบัติในการสอบ Admission • ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสาขาวิชาหรือคณะที่ต้องการศึกษาต่อ • ติดตามรายละเอียดเกี่ยวกับ Admission ในเว็บไซต์ของสมาคมอธิการบดีแห่งประเทศไทย www.cuas.or.th • ดำเนินการภายในระยะเวลาที่กำหนด เพื่อประโยชน์ของตัวนักเรียน
Admissions กลาง องค์ประกอบและค่าน้ำหนักในระบบ Admissions กลาง
องค์ประกอบและค่าน้ำหนักในแต่ละสาขาองค์ประกอบและค่าน้ำหนักในแต่ละสาขา
องค์ประกอบและค่าน้ำหนักในแต่ละสาขาองค์ประกอบและค่าน้ำหนักในแต่ละสาขา
การเตรียมความพร้อมสอบ O-NET 1) ทบทวนเนื้อหาที่สอบจากผังแบบทดสอบ (Test Blueprint) (ออกในระดับชั้น ม.4-ม.6) 2) ศึกษาและฝึกปฏิบัติการทำข้อสอบจากกระดาษคำตอบ O-NET
การเตรียมความพร้อมสอบ GAT/PAT
การสอบ GAT/PAT GAT/PAT คืออะไร GAT หรือ General Aptitude Test คือ การสอบวัดความถนัดทั่วไป PAT หรือ Professional and Academic Aptitude Test คือ การสอบวัดความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพ
การสอบ GAT/PAT สอบ GAT/PAT เพื่ออะไร สทศ. จัดสอบ GAT/PAT เพื่อให้ผู้เข้าสอบสามารถนำผลการสอบไปใช้เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา 1) ระบบรับกลาง หรือ Admissions กลาง 2) ระบบรับตรง (ขึ้นอยู่กับประกาศของแต่ละคณะและมหาวิทยาลัย)
การสอบ GAT/PAT สอบ GAT/PAT เมื่อไร สทศ.จัดสอบ GAT/PAT ปีละ2 ครั้ง ในเดือนมีนาคม และตุลาคม ของทุกปี นักเรียนสามารถติดตามกำหนดการและรายละเอียดได้ทาง website ของสทศ. (www.niets.or.th) นักเรียนไม่จำเป็นต้องสมัครทุกวิชา ทุกครั้ง นักเรียนควรเลือกเฉพาะวิชาที่ต้องใช้ในการยื่นสมัคร Admissions กลาง หรือรับตรง และเลือกสมัครสอบในช่วงที่พร้อม
GAT: General Aptitude Test สอบ 3 ชั่วโมง คะแนนเต็ม 300 คะแนน การวัดศักยภาพในการเรียนในมหาวิทยาลัยให้ประสบความสำเร็จ มี 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 คือ ความสามารถในการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และ แก้ปัญหา คะแนนเต็ม 150 คะแนน เวลา 1 ½ ชั่วโมง ส่วนที่ 2 คือ ความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ (การพูด, คำศัพท์, โครงสร้างการเขียน และการอ่าน) คะแนนเต็ม 150 คะแนน เวลา 1 ½ ชั่วโมง
PAT: Professional and Academic Aptitude Test สอบวิชาละ 3 ชั่วโมง คะแนนเต็ม 300 คะแนน มี 7 ประเภท PAT 1คือ ความถนัดทางคณิตศาสตร์ PAT 2คือ ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ PAT 3คือ ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ PAT 4คือ ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ PAT 5คือ ความถนัดทางวิชาชีพครู PAT 6คือ ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ PAT 7คือ ความถนัดในการเรียนภาษาต่างประเทศ PAT 7.1ภาษาฝรั่งเศสPAT 7.4ภาษาจีน PAT 7.2ภาษาเยอรมัน PAT 7.5ภาษาบาลี PAT 7.3ภาษาญี่ปุ่น PAT 7.6ภาษาอาหรับ
ค่าสถิติพื้นฐานของคะแนนการสอบ GAT PAT ครั้งที่ 1/2555 (คะแนนเต็ม 300 คะแนน)
ตารางสอบ GAT/PAT ครั้งที่ 2/2556
Website ที่เกี่ยวข้อง 1. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ข้อมูลเกี่ยวกับการสอบ O-NET และ GAT/PAT www.niets.or.th 2. สมาคมอธิการบดีแห่งประเทศไทย ข้อมูลเกี่ยวกับ Admissions กลาง www.cuas.or.th
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ที่อยู่ 128 อาคารพญาไทพลาซ่า ชั้น 36โทร. 02 217 3800 ถนนพญาไท แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี โทรสาร02 219 2996 กรุงเทพฯ 10400websitewww.niets.or.th
“ผมยินดีรับฟังข้อเสนอแนะ“ผมยินดีรับฟังข้อเสนอแนะ ที่เป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเป็นสำคัญ และมุ่งที่จะตอบสนองความพึงพอใจ ภายใต้ความถูกต้องและความเป็นธรรม ที่นำไปสู่ความสุขของทุกฝ่าย”