260 likes | 498 Views
กรอบยุทธศาสตร์และทิศทางในการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุดรธานี 5 ปี (พ.ศ. 2550-2554). สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุดรธานี พฤศจิกายน 2550. คำนำ.
E N D
กรอบยุทธศาสตร์และทิศทางในการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุดรธานี 5 ปี (พ.ศ. 2550-2554) สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุดรธานี พฤศจิกายน 2550
คำนำ จากบทบาทอำนาจหน้าที่สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุดรธานี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้มีคำสั่งที่ 183/2550 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2550 โดยสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุดรธานีได้แปลงคำสั่งดังกล่าวสู่การปฏิบัติโดยกระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วมของหน่วยงานในสังกัดโดยความเห็นชอบของผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี ดังนี้ 1. ใช้ยุทธศาสตร์เป็นเครื่องมือในการบริหารเชื่อมโยง นโยบายส่วนกลาง/ภูมิภาค/ท้องถิ่น 2. กำหนดสินค้าเกษตรเชิงพื้นที่ (Zoning) ของจังหวัดอุดรธานี 3. บูรณาการแผนงานโครงการ/งบประมาณ ทั้งหน่วยงานในสังกัดตามภารกิจเชื่อมโยงกับงบประมาณท้องถิ่น โดยกำหนดเป้าหมาย (Zoning) และกำหนดตัวชี้วัดในภาพรวมของจังหวัด และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 4. เพื่อเตรียมการในการจัดทำคำของบประมาณปี 2552 (ที่จังหวัด) เพื่อให้บรรลุตามคำสั่ง 9 ข้อที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้มอบหมาย (นายปวิต ถมยาวิทย์) เกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุดรธานี
สารบัญ หน้าที่ คำนำ วัตถุประสงค์ / เป้าประสงค์ 1 กรอบยุทธศาสตร์ทิศทางการพัฒนาการเกษตร • การกำหนด Zoning และการกำหนดพื้นที่เป้าหมาย 2 • สินค้าเกษตรเศรษฐกิจหลักของจังหวัด (Mass) 4 • สินค้าเกษตรที่ราคาดีแต่ผลิตไม่มาก (Niche) 14 • สินค้าเกษตรที่ผลิตเพื่อบริโภคและใช้ในครัวเรือน (Family) 20 • รายชื่อปราชญ์ชาวบ้านเพื่อสร้างองค์ความรู้ ปี 2550 23 เอกสารประกอบ • คำสั่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ 183/2550 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2550 เรื่อง มอบหมายอำนาจหน้าที่ให้เกษตรและสหกรณ์ จังหวัดปฏิบัติราชการ • หนังสือที่ อด 0005/0683 ลงวันที่ 20 กันยายน 2550 เรื่อง การกำหนดสินค้าเกษตรที่เป็นเศรษฐกิจหลักเศรษฐกิจเสริม และเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดอุดรธานี • หนังสือที่ อด 0005/0710 ลงวันที่ 2 ตุลาคม 2550 เรื่อง การกำหนดสินค้าเกษตรที่เป็นเศรษฐกิจหลักเศรษฐกิจเสริม และเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดอุดรธานี • หนังสือที่ อด 0005/0789 ลงวันที่ 2 พฤศจิกายน 2550 เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรจังหวัดอุดรธานี 5 ปี (พ.ศ.2550-2554) • หนังสือที่ อด 0005/0818 ลงวันที่ 9 พฤศจิกายน 2550 เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรจังหวัดอุดรธานี 5 ปี (พ.ศ.2550-2554)
วัตถุประสงค์ • มีเป้าหมายที่ชัดเจนในการทำงบประมาณ ทั้งสินค้า/พืชผล/บุคคล โดยกำหนดตัวชี้วัด (KPI) ให้เชื่อมโยงตั้งแต่ระดับกระทรวง กรม จังหวัด พื้นที่ • จัดทำแผนงาน / โครงการ / งบประมาณ ได้ตรงกับปัญหาและความต้องการในแต่ละพื้นที่ในแต่ละปีตามลำดับความสำคัญและเร่งด่วน มีโครงการไม่มาก แต่เชื่อมโยงครบวงจร (ต้นน้ำ – กลางน้ำ – ปลายน้ำ) • ทุกหน่วยงานทำงานตามบทบาทหน้าที่ / กิจกรรม / งบประมาณ ที่ร่วมกันคิด ร่วมกันทำตั้งแต่ต้น (แบบบูรณาการ) • เชื่อมโยงการทำงานในเป้าหมายเดียวกันทั้งส่วนกลาง / ภูมิภาค /ท้องถิ่น โดยยึดพื้นที่และแผนงานเป้าหมายอย่างมีส่วนร่วม • เตรียมการในการจัดตั้งงบประมาณปี 2552 ที่กำหนดให้จังหวัดเป็นผู้ของบประมาณตามปัญหาและความต้องการของพื้นที่
แผนที่แสดงการกำหนดพื้นที่ผลิต (Zoning) สินค้าเกษตรเศรษฐกิจที่ต้องการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต (MASS) ข้าวเหนียว / อ้อย / มันสำปะหลัง และยางพาราของจังหวัดอุดรธานี ปี พ.ศ. 2550 - 2554 1,138,155 ไร่ 16,590 ไร่ เป้าประสงค์ 1. เพื่อกำหนดพื้นที่ที่จะผลิตสินค้าเกษตรในแต่ละชนิดให้เหมาะสมเชิงภูมิ-เศรษฐศาสตร์ 2. เพื่อกำหนดขอบเขตพื้นที่ในการทำงานแบบบูรณาการ 3. เพื่อกำหนดเป้าหมาย การเพิ่มขึ้นที่ / ผลผลิต / คุณภาพในแต่ละชนิดสินค้า 4. กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาในแต่ละชนิดสินค้าเกษตรให้ครบวงจร (ผลิต / แปรรูป / ตลาด ) 5. เพื่อเชื่อมโยงทั้ง 4 ข้อ ลงสู่องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาสินค้า 74,827 ไร่ 250,924 ไร่ โรงสีข้าว จำนวน 44 โรง พื้นที่ปลูกข้าวเหนียว โรงงานแปรรูปอ้อย จำนวน 5 โรง พื้นที่ปลูกอ้อย โรงงานแปรรูปมันสำปะหลัง จำนวน 58 โรง พื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง โรงงานแปรรูปยางพารา จำนวน 2 โรง ตลาด 4 แห่ง พื้นที่ปลูกยางพารา
ตารางแสดงการกำหนดพื้นที่ (Zoning) ปลูกพืชเศรษฐกิจ จังหวัดอุดรธานี ปี 2550 (Mass Product)
สินค้าเกษตรเศรษฐกิจหลักของจังหวัด (Mass) • กำหนดสินค้า / เป้าประสงค์ -การปลูกข้าวเหนียว เป้าหมายจำนวน 1,138,155 ไร่ พื้นที่ อ.เมือง อ.เพ็ญ อ.สร้างคอม อ.บ้านดุง อ.พิบูลย์รักษ์ อ.ทุ่งฝน อ.หนองหาน และอ.ประจักษ์ศิลปาคม เป้าประสงค์ : เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวที่ได้คุณภาพตามมาตรฐาน สอดคล้องและเพียงพอกับความต้องการของตลาด พัฒนาวิจัยและพัฒนาข้าวอย่างครบวงจร สร้างมูลค่าเพิ่ม เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดี อย่างยั่งยืน - การปลูกอ้อย เป้าหมายจำนวน 250,924 ไร่ พื้นที่ อ.หนองวัวซอ อ.หนองแสง อ.กุมภวาปี และอ.โนนสะอาด เป้าประสงค์ : ผลิตอ้อยที่มีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของตลาด มีการวิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มคุณภาพและเพิ่มปริมาณผลผลิตอ้อย เพื่อสร้างความมั่นคงให้เกษตรกรชาวไร่อ้อย -การปลูกมันสำปะหลัง เป้าหมายจำนวน 74,827 ไร่ พื้นที่ อ.ไชยวาน อ.กู่แก้ว อ.วังสามหมอ และอ.ศรีธาตุ เป้าประสงค์ : ผลิต/แปรรูปมันสำปะหลังครบวงจร ที่มีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐานสอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดเพื่อให้เกษตรกรพ้นความยากจน มีการวิจัยและพัฒนาเพิ่มคุณภาพและเพิ่มปริมาณผลผลิตต่อไร่ - การปลูกยางพารา เป้าหมายจำนวน 61,590 ไร่ พื้นที่ อ.นายูง อ.น้ำโสม อ.บ้านผือ และอ.กุดจับ เป้าประสงค์ : ผลิตยางพาราแบบครบวงจร ได้มาตรฐานสากล สร้างสมดุลธรรมชาติ มีการรวมกลุ่ม สหกรณ์ที่เข้มแข็ง เกษตรกรมีความมั่นคงในอาชีพ
โครงการพัฒนาข้าวเหนียวโครงการพัฒนาข้าวเหนียว 1,138,155 ไร่ เป้าประสงค์ : เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวที่ได้คุณภาพตามมาตรฐาน สอดคล้องและเพียงพอกับความต้องการของตลาด พัฒนาวิจัยและพัฒนาข้าวอย่างครบวงจร สร้างมูลค่าเพิ่ม เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืน
หน่วยงานที่รับผิดชอบ สำนักเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุดรธานี, สำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี ,ศูนย์ขยายเมล็ดพันธุ์พืชที่ 12 จังหวัดอุดรธานี,ศูนย์บริการวิชาการและปัจจัยการผลิตด้านพืชอุดรธานี, สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดอุดรธานี, การค้าภายในจังหวัดอุดรธานีและสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุดรธานี 1. พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ ในปี 2550 รวม 150,000ไร่ 1.1 ผลิตข้าวเหนียวหอมอินทรีย์ ในพื้นที่ 20,000ไร่ 1.2 ผลิตข้าวเหนียวหอมในระดับริเริ่มเข้าสู่ระบบอินทรีย์ ในพื้นที่ 50,000ไร่ 1.3 ผลิตข้าวเหนียวหอมปลอดภัยสารพิษในพื้นที่ 80,000ไร่ 2. กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับประโยชน์ ครัวเรือนเกษตรกรที่ร่วมโครงการจำนวน 15,600ครัวเรือน 3. งบประมาณ 29,928,600บาท (งบประมาณ CEO) 4. ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ จังหวัดอุดรธานีมีชื่อเสียงและมีเอกลักษณ์ในด้านการผลิตข้าวเหนียวหอมอินทรีย์คุณภาพสูงเป็นที่ยอมรับของลูกค้า 5. ยุทธศาสตร์ในการดำเนินงาน 5.1 การเพิ่มผลผลิตและพัฒนาคุณภาพ 5.2 การวิจัยและพัฒนา 5.3 การแปรรูปและสร้างคุณค่าเพิ่ม 5.4 การพัฒนาระบบการตลาด
4 5 6 1 2 3 สนับสนุนพันธุ์ข้าว กข6ชั้นพันธ์ขยายให้โครงการฯ วิจัยแปลงต้นแบบการผลิตข้าวเหนียวหอมปลอดสารพิษ การอบรมขั้นตอนการดำเนินงานและสร้างแกนนำประจำตำบล ศึกษาดูงานแหล่งผลิตข้าวอินทรีย์ที่ประสบผลสำเร็จและมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับ วิจัยพัฒนาพันธุ์ข้าวเหนียวหอมพื้นเมือง คัดเลือกพื้นที่และสร้างแกนนำเกษตรกร ศูนย์บริการวิชาการและปัจจัยการผลิตด้านพืชอุดรธานี -งบประมาณ 100,000บาท ศูนย์ขยายเมล็ดพันธุ์พืชที่ 12 จังหวัดอุดรธานี -งบประมาณ 320,000บาท ศูนย์ขยายเมล็ดพันธุ์พืชที่ 12 จังหวัดอุดรธานี,สำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี,สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดอุดรธานี -งบประมาณ 310,000บาท ศูนย์ขยายเมล็ดพันธุ์พืชที่ 12 จังหวัดอุดรธานี -งบประมาณ 9,750,000บาท สำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี -งบประมาณ 200,000บาท ศูนย์บริการวิชาการและปัจจัยการผลิตด้านพืชอุดรธานี -งบประมาณ 450,000บาท 8 9 10 7 11 การปรับปรุงบำรุงดิน การตรวจและออกใบรับรองมาตรฐาน การอบรม/ถ่ายทอดเทคโนโลยี ให้แก่เกษตรกร โดยกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร สัมมนาการเชื่อมโยงการตลาดข้าวหอมอินทรีย์ การติดตาม/นิเทศงานโครงการฯ ศูนย์ขยายเมล็ดพันธุ์พืชที่ 12 จังหวัดอุดรธานี, สำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี, สหกรณ์จังหวัดอุดรธานี,การค้าภายในจังหวัดอุดรธานี, -งบประมาณ 250,000บาท สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุดรธานี,สำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี, ศูนย์ขยายเมล็ดพันธุ์พืชที่ 12 จังหวัดอุดรธานี,สหกรณ์จังหวัดอุดรธานี,สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดอุดรธานี -งบประมาณ 300,000บาท ศูนย์บริการวิชาการและปัจจัยการผลิตด้านพืชอุดรธานี -งบประมาณ 400,000บาท สถานีพัฒนาที่ดิน จังหวัดอุดรธานี -งบประมาณ 12,960,000บาท สำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี, สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดอุดรธานี -งบประมาณ 4,888,600บาท
โครงการพัฒนาอ้อย 250,924 ไร่ เป้าประสงค์ : ผลิตอ้อยที่มีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของตลาด มีการวิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มคุณภาพและเพิ่มปริมาณผลผลิตอ้อย เพื่อสร้างความมั่นคงให้เกษตรกรชาวไร่อ้อย
1. เป้าหมาย ปี 2550 พื้นที่ 200 ไร่ เกษตรกร 20 ราย ในเขตพื้นที่อำเภอเมือง อำเภอหนองแสง อำเภอวังสามหมอ อำเภอกุมภวาปี อำเภอไชยวาน อำเภอศรีธาตุ อำเภอโนนสะอาด อำเภอบ้านดุง อำเภอกิ่งประจักษ์ฯ 2. งบประมาณ 4,900,000 บาท 2.1 ค่าผลิตต้นกล้าอ้อยปลอดโรค 4ล800,000 บาท 2.2 ค่าฝึกอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตอ้อย 50,000 บาท 2.3 ค่าวิจัยและพัฒนา 50,000 บาท 3. ผลสัมฤทธิ์ จังหวัดอุดรธานี สามารถผลิตอ้อยปลอดโรคสนับสนุนเกษตรกรในปีแรก 200 ราย 200 ไร่ และขยายในปีต่อไปในอัตรา 1,10 ได้ 500 ราย 2,000 ไร่ เกษตรกรมีรายได้ 19,500,000 บาท 4. กิจกรรมและหน่วยงานรับผิดชอบ ถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตอ้อย แปลงขยายอ้อยปลอดโรค ผลิตต้นกล้าอ้อยปลอดโรค แปลงส่งเสริมอ้อยปลอดโรค วิจัยและพัฒนา พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง สำนักงานเกษตร สำนักงานเกษตร สำนักงานเกษตร สำนักงานเกษตร ? ? ? ? ? ผลิตต้นกล้าอ้อย จังหวัดอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ? ปลอดโรค 480,000 สำนักงานเกษตร สำนักงานเกษตร สำนักงานเกษตร สำนักงานเกษตร ? ? ? ? ต้น อำเภอ อำเภอ อำเภอ อำเภอ งบประมาณ 200 ราย /200 ไร่ พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง ขยายอัตรา 1 :10 พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง ? ? ? ? ? 4,800,000 บาท 200 ราย งบประมาณ ? ? งบประมาณ 50,000 บาท ? 50,000 บาท
โครงการพัฒนามันสำปะหลังโครงการพัฒนามันสำปะหลัง 74,827 ไร่ เป้าประสงค์ : ผลิต/แปรรูปมันสำปะหลังครบวงจร ที่มีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของตลาดเพื่อให้เกษตรกรพ้นความยากจน มีการวิจัยและพัฒนาเพิ่มคุณภาพและเพิ่มปริมาณผลผลิตต่อไร่
หน่วยงานที่รับผิดชอบ สำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดอุดรธานี สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุดรธานี สถานีทดลองพืชไร่อุดรธานี ศูนย์พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดอุดรธานี 1. เป้าหมาย ปี 2550 พื้นที่รวม 7,500 ไร่ เกษตรกร 1,500 ครัวเรือน ในเขตอำเภอเมือง หนองวัวซอ วังสามหมอ กุดจับ กุมภวาปี นายูง น้ำโสม บ้านผือ ศรีธาตุ โนนสะอาด และอำเภอบ้านดุง กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลัง กิจกรรมย่อย 1) แปลงส่งเสริมการใช้พันธุ์ดี 2) ปรับปรุงดิน 3) จัดตั้งกลุ่มผู้ผลิต 4) ถ่ายทอดเทคโนโลยี 5) กระจายพันธุ์ดี 6) ติดตามประเมินผล 2. งบประมาณ 11,775,000 บาท 2.1) ค่าพันธุ์ 2.2) ค่าเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด/ปุ๋ยเคมี 2.3 ค่าใช้จ่ายในการถ่ายทอดเทคโนโลยี 2.4) ค่าใช้จ่ายจัดงานวันรณรงค์ 2.5 ค่าดำเนินการจัดตั้งกลุ่มผู้ผลิต 2.6) ค่าติดตามประเมินผล 3. ผลสัมฤทธิ์ จังหวัดอุดรธานีสามารถผลิตวัตถุดิบเพื่อแปรรูปเป็นพลังงานทดแทน เกษตรกรมีรายได้เพิ่มและมีความมั่นคงในอาชีพ 4. กิจกรรมและหน่วยงานรับผิดชอบ แปลงส่งเสริม มันสำปะหลังพันธุ์ดี ตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนการผลิตและแปรรูป ประชาสัมพันธ์และเชื่อมโยงตลาดแปรรูป รณรงค์กระจายพันธุ์ดี คัดเลือกพื้นที่ถ่ายทอดเทคโนโลยี ปรับปรุงบำรุงดิน ปุ๋ยพืชสด - สำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี (พันธุ์ดี 320 ตัน/ไร่) งปม. 8,400,000 บาท - สำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี 11 กลุ่ม งปม. 165,000 บาท - อุตสาหกรรมจังหวัด - การค้าภายใน งปม.210,000 บาท - สำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี ( 11 อำเภอ 2,000 คน ) งปม. 375,000 บาท - สถานีพัฒนาที่ดิน งปม. 1,125,000 บาท - สำนักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี งปม.1,500,000 บาท
โครงการพัฒนายางพาราครบวงจร จังหวัดอุดรธานี 16,590 ไร่ เป้าประสงค์ : ผลิตยางพาราแบบครบวงจร ได้มาตรฐานสากล สร้างสมดุลธรรมชาติ มีการรวมกลุ่มสหกรณ์ที่เข้มแข็ง เกษตรกรมีความมั่นคงในอาชีพ
จัดตั้งศูนย์รวบรวมและคัดแยกคุณภาพและจำหน่ายยางพาราจัดตั้งศูนย์รวบรวมและคัดแยกคุณภาพและจำหน่ายยางพารา ปรับปรุงคุณภาพ ปรับปรุงบำรุงดินอินทรีย์วัตถุและชีวภาพ สร้างรายได้ให้กับเกษตรกร ให้การศึกษาอบรมและศึกษาดูงาน พัฒนาระบบตลาด กลยุทธ์ที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยสนับสนุนเทคโนโลยีการผลิตที่ประหยัดและทันสมัย สนับสนุนให้ทำการผลิตโดยใช้ปุ๋ย ชีวภาพ หรือเกษตรอินทรีย์เพื่อลดต้นทุนและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน กลยุทธ์ที่ 5 สร้างคุณค่า สร้างมูลค่าและความแตกต่างให้กับสินค้าเกษตร โดยปรับปรุงรูปแบบเน้นคุณภาพสินค้าสร้างเอกลักษณ์และตราสินค้า กลยุทธ์ที่ 7 พัฒนาระบบตลาดทั้งภายในและต่างประเทศเช่น ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า การส่งเสริมตลาดกลางสินค้าเกษตร กลยุทธ์ที่ 6 สร้างความเข้มแข็งให้สถาบันเกษตรกร จัดตั้งตลาดกลางยางพารา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ปุ๋ยพืชสด จัดตั้งศูนย์รวบรวมและคัดแยกคุณภาพและจำหน่ายยางพารา ให้ความรู้ด้านคุณภาพยางแก่สมาชิกผู้ปลูกยาง โครงการส่งเสริมปลูกพืชแซม โครงการส่งเสริมและพัฒนาการกรีดยางพาราเกษตรกรทำยางแผ่นชั้นดี ปุ๋ยอินทรีย์น้ำดี (พด 2 สร้างความเข็มแข็งให้มีการรวมกลุ่ม รณรงค์การทำปุ๋ยหมักด้วยใบยาง (พด 1. พด2 ) ประดิษฐ์ดอกไม้ใบยาง ดอกไม้ชุบน้ำยาง โครงการถุงมือเคลือบยางพาราและกิจกรรมหล่อแบบตุ๊กตาระบายสี
สินค้าเกษตรที่ราคาดีแต่ผลิตไม่มาก (Niche) • กำหนดสินค้า / เป้าประสงค์ - การปลูกข้าวหอมมะลิ เป้าหมายจำนวน 228,016 ไร่ พื้นที่ อ.เมือง อ.เพ็ญ อ.หนองหาน อ.บ้านดุง และอ.บ้านผือ เป้าประสงค์ : เป็นพันธุ์แท้ มาตรฐาน GAP - การเลี้ยงสุกร เป้าหมายจำนวน 71,380 ตัว พื้นที่ อ.เมือง อ.เพ็ญ อ.หนองหาน อ.กุดจับ และอ.บ้านผือ เป้าประสงค์ : ปลอดสารเร่งเนื้อแดง มาตรฐาน GMP, GAP - การเลี้ยงโคเนื้อ เป้าหมายจำนวน 87,350 ตัว พื้นที่ อ.เมือง อ.เพ็ญ อ.หนองวัวซอ อ.บ้านดุง และอ.บ้านผือ เป้าประสงค์ : พันธุ์พื้นเมือง (วัวแดง) แปลงพืชอาหารสัตว์ มาตรฐาน GMP, GAP - การเลี้ยงปลาน้ำจืด เป้าหมายจำนวน 11,351 ราย พื้นที่ อ.เมือง อ.ไชยวาน อ.กุมภวาปี อ.บ้านผือ และอ.ศรีธาตุ เป้าประสงค์ : มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงปลา ประมงอินทรีย์ - การปลูกมะม่วงน้ำดอกไม้ เป้าหมายจำนวน 1,800 ไร่ พื้นที่ อ.หนองวัวซอ เป้าประสงค์ : มาตรฐานส่งออก GAP
แผนที่แสดงการกำหนดพื้นที่ผลิต (Zoning)สินค้าเกษตรเศรษฐกิจที่ต้องการปรับปรุงคุณภาพ (Niche) ข้าวหอมมะลิ ของจังหวัดอุดรธานี ปี 2550 - 2554 • เป้าประสงค์ • เป็นพันธุ์แท้ • มาตรฐาน GAP
แผนที่แสดงการกำหนดพื้นที่ผลิต (Zoning)สินค้าเกษตรเศรษฐกิจที่ต้องการปรับปรุงคุณภาพ (Niche) สุกร ของจังหวัดอุดรธานี ปี 2550 - 2554 • เป้าประสงค์ • - ปลอดสารเร่งเนื้อแดง • มาตรฐาน GMP • มาตรฐาน GAP
แผนที่แสดงการกำหนดพื้นที่ผลิต (Zoning)สินค้าเกษตรเศรษฐกิจที่ต้องการปรับปรุงคุณภาพ (Niche) โคเนื้อ ของจังหวัดอุดรธานี ปี 2550 - 2554 • เป้าประสงค์ • พันธุ์พื้นเมือง(วัวแดง) • แปลงพืชอาหารสัตว์ • มาตรฐาน GAP , GMP
แผนที่แสดงการกำหนดพื้นที่ผลิต (Zoning)สินค้าเกษตรเศรษฐกิจที่ต้องการปรับปรุงคุณภาพ (Niche) ปลาน้ำจืด ของจังหวัดอุดรธานี ปี 2550 - 2554 • เป้าประสงค์ • มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงปลา • ประมงอินทรีย์
แผนที่แสดงการกำหนดพื้นที่ผลิต (Zoning)สินค้าเกษตรเศรษฐกิจที่ต้องการปรับปรุงคุณภาพ (Niche) มะม่วงน้ำดอกไม้ ของจังหวัดอุดรธานี ปี 2550 - 2554 เป้าประสงค์ - มาตรฐานส่งออก GAP
เศรษฐกิจพอเพียง • - ความพอประมาณ • ความมีเหตุมีผล • การมีภูมิคุ้มกันที่ดี Zone - กายภาพ - สังคม - ชีวภาพ สินค้าเกษตรเชิงพาณิชย์ - Mass goods - Niche goods ความผาสุก - ครอบครัว - ชุมชน - สังคม การขับเคลื่อน GPP - ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตใน - Mass goods - พัฒนาคุณภาพใน Niche goods - พัฒนาคุณภาพใน Family goods ยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัดอุดรธานี (ด้านการเกษตร) Matrix การพัฒนาการเกษตร แผนพัฒนาประจำปี 2551
สินค้าเกษตรที่ผลิตเพื่อบริโภคและใช้ในครัวเรือน (Family) • กำหนดสินค้า • กำหนดพื้นที่เป้าหมาย / เป้าประสงค์ -ครัวเรือนยากจนที่ตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2550 เป้าหมายจำนวน 21,465 ครัวเรือน พื้นที่ อ.เมือง อ.เพ็ญ อ.หนองหาน อ.บ้านดุง อ.หนองวัวซอ อ.ประจักษ์ศิลปาคม อ.น้ำโสม อ.นายูง อ.โนนสะอาด อ.วังสามหมอ อ.กุมภวาปี อ.สร้างคอม อ.พิบูลย์รักษ์ อ.กู่แก้ว อ.ทุ่งฝน อ.ไชยวาน อ.ศรีธาตุ อ.หนองวัวซอ อ.หนองแสง และอ.บ้านผือ เป้าประสงค์ : ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ลดจำนวนครัวเรือน เกษตรกรยากจนปีละ 50%
แผนที่แสดงครัวเรือนเกษตรกรยากจนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. ปี 2550 (20,000 บาท/ปี) ที่จะพัฒนาสินค้าเกษตรในครัวเรือน/ชุมชน รวม 20 อำเภอ จำนวน 21,465 ครัวเรือน \ อ.เพ็ญ 2,883 ครัวเรือน อ.สร้างคอม 884 ครัวเรือน อ.บ้านดุง 2,789 ครัวเรือน อ.บ้านผือ 1,769 ครัวเรือน อ.พิบูลย์รักษ์ 13 ครัวเรือน อ.นายูง 666 ครัวเรือน อ.ประจักษ์ฯ 607 ครัวเรือน อ.ทุ่งฝน 463 ครัวเรือน อ.น้ำโสม 516 ครัวเรือน อ.หนองหาน 2,589 ครัวเรือน อ.กุดจับ 1,156 ครัวเรือน อ.กู่แก้ว 459 ครัวเรือน อ.เมือง 1,559 ครัวเรือน อ.ไชยวาน 500 ครัวเรือน อ.หนองวัวซอ 1,056 ครัวเรือน • เป้าประสงค์ • ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ • ลดจำนวนครัวเรือนเกษตรกรยากจนปีละ 50% อ.หนองแสง 738 ครัวเรือน อ.กุมภวาปี 1,432 ครัวเรือน อ.วังสามหมอ 1,096 ครัวเรือน อ.โนนสะอาด 666 ครัวเรือน อ.ศรีธาตุ 666 ครัวเรือน
1 นายประยงค์ ใจเป็น ปุ๋ยหมก 2 นายสมยศ รสโสดา ไม้ผล 3 นายแสนหมั้น อินทรไชยา ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด 4 นายบุญโฮม ปุริณะ เลี้ยงปลา 5 นายอุดม ทาปุ๋ย ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด 6 นายเกียร สูตรไชย์ ปุ๋ยชีวภาพ 7 เลี้ยงกบ นายบุญดิง ขันตี 8 นายคำม่วน ทองโสด เลี้ยงปลา 9 นายสุวรรณ ศรีสุพัฒน์ หมูหลุม 10 นายบุญช่วย ใคร่นุ่นกา เลี้ยงปลา 11 นายถาวร ลุนจันทรา ข้าวอินทรีย์ 12 นายบุญมี ใจแก้ว ขยายพันธุ์ไม้ 13 นายบัวลม นามวิชัย ผักปลอดสารพิษ 14 ปุ๋ยชีวภาพ นายถวิล อินทร์อำคา 15 เลี้ยงสุกร นายคำศรี เวฬุนาธรณ์ ปุ๋ยชีวภาพ 16 นายวัตคำ แข็งแรง 17 นายแป้ง พิมพาแสง หมอรักษาสัตว์ 18 นางอุดม แก้วรัตน์ช่วง ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม 19 นายถนอม วิบูลย์กุล เลี้ยงจิ้งหรีด 20 นายบุญมี มาพรด ขยายพันธุ์ไม้ 21 นายฤทธิ์ ปะนาราช มะม่วงนอกฤดู 22 ละมุด นายคูณ สระอุทน 23 นายเสงี่ยม ชื่นชมกุล ยางพารา 24 นางสมหมาย มีหลง ผักปลอดสารพิษ 25 นายโฮม โคตรศรีวงษ์ ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด 26 เลี้ยงกบ นายคำผาย พุทธวงศ์ 27 นายสุทิน ขำดี ชมพู่ 28 นางอัมพร สมสร้าง น้ำหยด 29 นายมานิตย์ งามเถื่อน ปุ๋ยชีวภาพ 30 นายประจักษ์ เจียรวาปี ปุ๋ยชีวภาพ 31 นายอำไพ พิลาแดง เลี้ยงสุกร 32 นายขันตี ศรีรักษา ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด 33 นายเชิดวุฒิ วรรณกุล ผักปลอดสารพิษ 34 นายสงวน บูรณะ มะม่วงนอกฤดู 35 นายคูณ เล่กัณฑ์ ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด แผนที่แสดงรายชื่อปราชญ์ชาวบ้านด้านการเกษตร จังหวัดอุดรธานี ปี 2550 เป้าประสงค์ - เน้นด้านเศรษฐกิจพอเพียงผ่านทางปราชญ์ชาวบ้านด้านการเกษตร - ลดรายจ่าย - เพิ่มรายได้ - ลดละเลิกอบายมุข - การออม