980 likes | 1.32k Views
Organization Self Assessment PMQA Criteria. การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง ตามแนวทางเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ( Public Sector Management Quality Award: PMQA ). ถิระ ถาวรบุตร ส่วน Center of Excellence ฝ่ายวิจัย สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. Organization Self Assessment PMQA Criteria.
E N D
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง ตามแนวทางเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award: PMQA) ถิระ ถาวรบุตร ส่วนCenter of Excellence ฝ่ายวิจัย สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria หัวข้อการนำเสนอ • ความเป็นมาในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • แนวทางการใช้ PMQA เพื่อเป็นองค์กรสมรรถนะสูง • ค่านิยม 11 ประการ (หลักคิด) • 7 หมวดของเกณฑ์ PMQA (หลักทำ) • กิจกรรมกลุ่ม: การเขียนรายงานสุขภาพ • 2 วงจรการประเมินองค์กร (หลักประเมิน) • 6 ระดับความแข็งแรงขององค์กร (หลักเทียบเคียงสุขภาพ) • กิจกรรมกลุ่ม: การตรวจสุขภาพองค์กร
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 2546 Good Governance New Public Management Strategic Management • Strategy Formulation • การวางวิสัยทัศน์และการคิดเชิงกลยุทธ์ • Strategy Map • การบริหารความเสี่ยง • วางแผนโครงการ • Strategy Implementation • Org. Structure (GO/PO/SOE/SDU/etc.) • Process Redesign • IT (e-Gov) • People (Competency) • Culture • KM • กฎหมาย • Strategic Control • คำรับรองการปฏิบัติราชการ (PA) • BSC • Individual Scorecard รายงานข้อมูลสถานการณ์เศรษฐกิจและสังคม Globalization คตป Good strategy comes first Making strategy works Public Sector Management Quality Award (PMQA) (MBNQA)
Yes No ผลลัพธ์ ส่วนราชการทราบจุดแข็ง และโอกาสในการปรับปรุง การประเมินส่วนราชการด้วย ตนเอง (Self-Assessment) รายงานการบริหารจัดการ ของส่วนราชการ 2 1 3 ประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์กร ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 4 5 บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่างๆ (Management Tools and Projects) การพัฒนาองค์กรตามแนวทาง PMQA ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) สมัครเข้ารับรางวัล PMQA ได้รับรายงานป้อนกลับ พรฎ. ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ 1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3. ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4. ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ 6. อำนวยความสะดวกให้กับประชาชน 7. ประเมินผลการปฏิบัติราชการ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล การนำ องค์กร การจัดการ กระบวนการ การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
หลักปัจจัย4ประการ 11 ค่านิยม 7 หมวด 2 วงจรการประเมิน 6 ระดับความแข็งแรง
11ค่านิยม (หลักคิด) การมุ่งเน้นอนาคต การนำองค์กร อย่างมีวิสัยทัศน์ 1 5 การจัดการโดยใช้ ข้อมูลจริง 9 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม ความคล่องตัว 6 2 การให้ความสำคัญกับ บุคลากรและคู่ความร่วมมือ 3 การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า 10 การเรียนรู้ขององค์กร และของแต่ละบุคคล 7 ความเป็นเลิศ ที่มุ่งเน้นผู้รับบริการ การจัดการเพื่อ นวัตกรรม มุมมองในเชิงระบบ 8 11 4
PMQAกับผังก้างปลา Driver System Results 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำองค์กร 2. การวางแผนเชิง ยุทธศาสตรและกลยุทธ์ 7. ผลลัพธ์ การดำเนินงาน 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 6. การจัดการ กระบวนการ
องค์ประกอบของเกณฑ์ ลักษณะสำคัญขององค์กร 2 ส่วน 1. การนำองค์กร 7 หมวด 17 หัวข้อ 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 30 ประเด็น ที่ควรพิจารณา ก. การกำหนดทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การควบคุมดูแลให้มีการจัดการภายในที่ดี ค. การทบทวนผล การดำเนินการขององค์กร 90 คำถาม (1) (2)
การประเมินในสองมิติ : กระบวนการ และ ผลลัพธ์
มิติกระบวนการ • “กระบวนการ’’หมายถึง วิธีที่องค์กรใช้และปรับปรุง เพื่อตอบสนองข้อกำหนดต่างๆ ของหัวข้อในหมวด 1-6 ปัจจัยทั้ง 4 ที่ใช้ประเมินกระบวนการ ได้แก่ • แนวทาง (Approach - A) • การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ (Deployment - D) • การเรียนรู้ (การทบทวนและปรับปรุง) (Learning - L) • การบูรณาการ (Integration - I)
การประเมินกระบวนการ:ADLIการประเมินกระบวนการ:ADLI I Integration Category 1-6 L Learning A Approach D Deployment
ระดับ (Level) คะแนน (Score) กระบวนการ (Approach-Deployment-Learning-Integration) Criteria 1-6 1 0% , 5% • ไม่มีแนวทางอย่างเป็นระบบ; มีข้อมูลหรือสารสนเทศน้อยหรือไม่ชัดเจน (A) • ไม่มีหรือมีการนำแนวทางไปสู่การปฏิบัติเพียงเล็กน้อย (D) • ไม่มีหลักฐานแสดงถึงการกำหนดแนวทางการปรับปรุง; การปรับปรุงเกิดขึ้นเพื่อตอบสนองปัญหาเฉพาะหน้า (L) • ไม่มีการมุ่งไปในแนวทางเดียวกันกับองค์กร; แต่ละสายงานปฏิบัติงานโดยอิสระจากกัน (I) 2 10%, 15%, 20% หรือ 25% • เริ่มมีแนวทางที่เป็นระบบตอบสนองวัตถุประสงค์ขั้นพื้นฐานของข้อกำหนด (A) • เป็นระยะเริ่มต้นของการถ่ายทอด/นำแผน/แนวทางไปสู่สายงานเป็นส่วนใหญ่ (D) • เป็นระยะเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงจากการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าไปสู่การกำหนดแนวทางในการปรับปรุงที่ทั่วถึง (L) • แนวทางมุ่งไปทิศทางเดียวกับสายงานอื่นๆอันเป็นผลมาจากการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าร่วมกันเป็นหลัก (I) 3 30%, 35%, 40% หรือ 45% • มีแนวทางที่เป็นระบบและได้ผลเพื่อสนองวัตถุประสงค์ขั้นพื้นฐานของข้อกำหนด (A) • มีการถ่ายทอด/นำแผนสู่การปฏิบัติ มีเพียงบางสายงานจะอยู่ในระยะเริ่มต้นเท่านั้น (D) • เริ่มมีแนวทางที่เป็นระบบเพื่อประเมินผลและปรับปรุงกระบวนการหลัก (L) • เริ่มมีแนวทางที่สอดคล้องกับความต้องการพื้นฐานขององค์กรที่ระบุไว้ในเกณฑ์หมวดอื่นๆ (I) 4 50%, 55%, 60% หรือ 65% • มีการนำระบบมาใช้อย่างได้ผลสนองค่อข้อกำหนดโดยรวม (A) • มีการถ่ายทอด/นำแผนไปสู่การปฏิบัติเป็นอย่างดี แต่มีส่วนน้อยที่ยังคลาดเคลื่อน (D) • มีระบบการประเมินและปรับปรุงกระบวนการโดยใช้ฐานข้อมูลที่เป็นจริง และเกิดความรู้หรือทักษะบางอย่างที่เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงกระบวนการหลักได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (L) • มีระบบที่สอดคล้องกันกับความต้องการพื้นฐานขององค์การที่กำหนดไว้ในเกณฑ์ข้ออื่นๆ (I) 5 70%, 75%, 80% หรือ 85% • มีการนำระบบมาใช้อย่างได้ผลในการตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ขององค์การทั้งในสภาพปัจจุบันและตามการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ (A) • มีการกระจายแผนสู่การปฏิบัติเป็นอย่างดี โดยไม่มีข้อบกพร่องที่เด่นชัด (D) • ใช้ระบบการประเมิน ปรับปรุง และการเรียนรู้เป็นเครื่องมือหลักในการบริหารจัดการองค์กร; มีหลักฐานเด่นชัดที่แสดงถึงนวัตกรรมอันเป็นผลมาจากการวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในระดับขององค์กร (L) • มีระบบที่สอดคล้องประสานกันอย่างดีกับความต้องการพื้นฐานขององค์การ ที่กำหนดไว้แล้วในเกณฑ์ข้ออื่นๆ (I) 6 90%, 95% หรือ 100% • มีการนำระบบมาใช้อย่างได้ผลดียิ่งในการตอบสนองวัตถุประสงค์ทุกประการขององค์กรทั้งในปัจจุบันและตามการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ (A) • มีการกระจายแผนสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพในทุกหน่วยขององค์กร (D) • ใช้ระบบการประเมิน ปรับปรุงและการเรียนรู้เป็นเครื่องมือบริหารจัดการทั่วทั้งองค์กร; เกิดนวัตกรรมที่ได้จากการวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอย่างเห็นได้ชัดทั่วทั้งองค์กร (L) • มีระบบที่สอดคล้องประสานกันอย่างสมบูรณ์กับความต้องการพื้นฐานขององค์การที่มีการกำหนดไว้แล้วในเกณฑ์ข้ออื่นๆ (I)
RESULT levels of performance meet goals sustained improvement trends comparisons and benchmarks comparisons and benchmarks all key measures
การประเมินผลลัพธ์KLTC Key measures K Category 7 Comparison C Level L Trends T
6ระดับความแข็งแรงขององค์กร6ระดับความแข็งแรงขององค์กร 1 2 3 ไม่มีระบบใดเลย แก้ปัญหาเฉพาะหน้า แนวทางเริ่มเป็นระบบ 1 1 4 5 6 มุ่งเป็นทิศทางเดียวกัน แนวทางบูรณาการ บูรณาการเป็นหนึ่ง
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 2 5 การวางแผน เชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1 7 ผลลัพธ์ ขององค์การ การนำ องค์การ 3 6 การมุ่งเน้น ลูกค้าและตลาด การจัดการ กระบวนการ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ภาพรวม
ลักษณะสำคัญขององค์กร 1. ลักษณะองค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ
1 ลักษณะองค์กร ข. ความสัมพันธ์ภายในและภายนอกองค์กร โครงสร้างองค์กรที่แสดงถึงการกำกับดูแลตนเองที่ดี • ส่วนราชการ/องค์กรที่เกี่ยวข้องกันในการปฏิบัติงาน • มีหน่วยงานใดบ้าง • มีบทบาทอะไร • ข้อกำหนดที่สำคัญในการปฏิบัติงานร่วมกัน - กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก - ความต้องการและความคาดหวัง - กลไกการสื่อสารระหว่างกัน
2 ความท้าทายต่อองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน • สถานภาพการแข่งขันทั้งภายในและภายนอกประเทศ • ขนาดและการเติบโตของการให้บริการ/ผลงานเมื่อเปรียบเทียบกับ • องค์กรที่มีภารกิจคล้ายคลึงกัน • จำนวนและประเภทของคู่แข่ง ปัจจัยสำคัญที่ทำให้สำเร็จเมื่อเปรียบเทียบกับองค์กร/ประเทศอื่น ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงซึ่งกระทบสภาวะการแข่งขัน แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบสำหรับกระบวนการและเชิงแข่งขัน • แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบและเชิงแข่งขันสำหรับกระบวนการ • ที่คล้ายคลึงกันจากองค์กรอื่น • - ข้อจำกัดในการหาข้อมูลเชิงเปรียบเทียบและเชิงแช่งขัน
2 ความท้าทายต่อองค์กร ข. ความท้าทายเชิงยุทธ์ศาสตร์และกลยุทธ์ • ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ • ตามภารกิจ • ด้านปฏิบัติการ • ด้านทรัพยากรบุคคล ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ • แนวทางการปรับปรุงผลการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง • แนวทางการประเมินและปรับปรุงกระบวนการทำงานหลัก การเรียนรู้และการแลกเปลี่ยนความรู้ในองค์กร
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 2005 กิจกรรมกลุ่ม: การรายงานสุขภาพองค์กร
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 2 5 การวางแผน เชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1 7 ผลลัพธ์ ขององค์การ การนำ องค์การ 3 6 การมุ่งเน้น ลูกค้าและตลาด การจัดการ กระบวนการ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 1. การนำองค์กร
หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสาธารณะ ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ • การกำหนด วิสัยทัศน์ ค่านิยม ทิศทาง ผลการ ดำเนินการที่คาดหวัง และการถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ • การสร้างบรรยากาศการให้อำนาจตัดสินใจ นวัตกรรมและความคล่องตัว • การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม • การวัดและการตรวจติดตาม การมีจริยธรรม องค์กร • ความโปร่งใสตรวจสอบได้ • ความรับผิดชอบ • การปกป้อง ผลประโยชน์ ของประเทศชาติ • การทบทวน ผลการดำเนินการ • การนำผลมาปรับปรุงส่วนราชการ • การดำเนินการกรณีที่การปฏิบัติงานมีผลกระทบ ต่อสังคม • การดำเนินการต่อความกังวลของสาธารณะ • การสนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ ชุมชนที่สำคัญ
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 1.1 การกำหนดทิศทางของส่วนราชการ ก.กำหนดทิศทางของส่วนราชการ 1 สื่อสาร 2 ทางผ่านระบบการนำองค์กร กำหนด ถ่ายทอด ผลักดัน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม เป้าประสงค์ ระยะยาว ผลการดำเนินงาน ที่คาดหวัง เป้าประสงค์ ระยะสั้น ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อย่างโปร่งใสและชัดเจน บุคลากร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 1.1 การนำองค์กร ก.กำหนดทิศทางของส่วนราชการ 2 การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิด การกระจาย อำนาจตัดสินใจ นวัตกรรม ความคล่องตัว การเรียนรู้ การทำงานตามกฎ ระเบียบและจริยธรรม สู่ระบบงานในองค์กร
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 1.1 การนำองค์กร ค. การทบทวนผลการดำเนินการของส่วนราชการ 1 การประเมินและทบทวนผลการดำเนินงานเพื่อประเมิน ความสำเร็จของการบรรลุเป้าประสงค์ ระยะสั้น ความสำเร็จของการบรรลุเป้าประสงค์ ระยะยาว ความสามารถในการตอบสนองความต้องการที่เปลี่ยนแปลง
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 1.1 การนำองค์การ ค. การทบทวนผลการดำเนินการของส่วนราชการ 2 โดยพิจารณาประเด็นดังต่อไปนี้ ตัวชี้วัดในการทบทวน ผลการทบทวนที่ผ่านมา
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 1.1 การนำองค์กร ค. การทบทวนผลการดำเนินการของส่วนราชการ 3 การนำผลการทบทวนไปสู่ การจัดลำดับ เพื่อการปรับปรุง การสร้างโอกาส ด้านนวัตกรรม ปรับปรุง ทั่วทั้งองค์กร ปรับปรุง ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 1.1 การนำองค์กร ค. การทบทวนผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4 การประเมินผลงานของผู้บริหารนำผลไปสู่ การปรับปรุงระบบการนำองค์กรของคณะผู้บริหาร หัวหน้างานทุกระดับ
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. ความรับผิดชอบต่อสาธารณะ 1-2 การดำเนินการกับผลกระทบที่มีต่อสังคม จากการบริการ และ การดำเนินงาน การกำหนด กระบวนการ การกำหนด ตัววัด การกำหนด เป้าประสงค์ การจัดการความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการบริการและการดำเนินงาน
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. ความรับผิดชอบต่อสาธารณะ 3 การคาดการณ์ล่วงหน้าถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ต่อสาธารณะทั้งในปัจจุบันและอนาคต การเตรียมการเชิงรุก
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ข. การดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม การดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม การกำหนด วิธีปฏิบัติ
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ค. การให้การสนับสนุนต่อชุมชนที่สำคัญ การสนับสนุนและเสริมสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ชุมชนที่สำคัญด้วย การกำหนด ชุมชนที่สำคัญ การกำหนด กิจกรรม ผู้บริหารและบุคลากรมีส่วนร่วม ในการพัฒนาชุมชน
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 2 5 การวางแผน เชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1 7 ผลลัพธ์ ขององค์การ การนำ องค์การ 3 6 การมุ่งเน้น ลูกค้าและตลาด การจัดการ กระบวนการ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.2 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ก. การจัดทำ แผนปฏิบัติการและ การนำแผนไปปฏิบัติ • การจัดทำแผนปฎิบัติการ การนำแผนไปปฎิบัติ รวมทั้งการจัดสรรทรัพยากร • การตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลง • แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล • การคาดการณ์ผลการดำเนินการ • เกณฑ์เปรียบเทียบ ที่สำคัญต่างๆ • เป้าประสงค์เชิงยุทธ-ศาสตร์และกรอบเวลา ในการบรรลุ • ความสมดุลระหว่างความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด • การวางแผนยุทธ-ศาสตร์และกลยุทธ์ • การนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องมาประกอบการวางแผน
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ก. กระบวนการจัดทำยุทธ์ศาสตร์และกลยุทธ์ 1 กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ให้ระบุ ขั้นตอนและผู้เกี่ยวข้องที่สำคัญ กรอบเวลาและความสอดคล้อง เหตุผลในการกำหนดกรอบเวลา แผนปฏิบัติราชการประจำปี แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 2.1 กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ก. กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2 วิธีการรวบรวมและการวิเคราะห์ ข้อมูลและสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องดังนี้ ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก ความต้องการ/คาดหวังของ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่วนราชการ องค์กรที่เกี่ยวข้อง นวัตกรรม เทคโนโลยีที่ส่งผลต่อการดำเนินงาน จุดแข็ง/จุดอ่อน ทรัพยากบุคคลและอื่นๆ ความเสี่ยงด้านการเงิน สังคม จริยธรรม กฎหมาย การปรับเปลี่ยน การใช้ทรัพยากรไปกับกิจกรรมที่สำคัญกว่า สภาพแข่งขัน/ความสามารถเมื่อเปรียบเทียบกับองค์กร ที่มีภารกิจใกล้เคียง การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจระดับประเทศ ระดับโลก สถานภาพและความสามารถการแข่งขันเชิงของประเทศ
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 2.1 กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ข. เป้าประสงค์เชิงยุทธ์ศาสตร์และกลยุทธ์ 1 มีการกำหนด ดังต่อไปนี้ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์และ กลยุทธ์ที่สำคัญ ตารางเวลา ที่จะบรรลุ ลำดับของความสำคัญ
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 2.1 กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ข. เป้าประสงค์เชิงยุทธ์ศาสตร์และกลยุทธ์ 2 มีการกำหนดเป้าประสงค์ โดยให้ความสำคัญกับ ความท้าทาย ขององค์การ ความสมดุลระหว่าง โอกาสกับความท้าทาย ความสมดุลระหว่าง ความต้องการผู้มีส่วนได้เสีย ระยะสั้น ระยะยาว
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์เพื่อนำไปปฏิบัติ ก. การจัดทำแผนปฏิบัติราชการและถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ1-4 ส่วนราชการมีวิธีการ อย่างไรในประเด็นเหล่านี้ การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ • แผนปฏิบัติราชการ • ระยะสั้น • ระยะยาว แผนหลักด้าน ทรัพยากรบุคคล ตัวชี้วัดที่สำคัญ เพื่อใช้ติดตามแผน การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ ระบบการวัดผล แผนปฏิบัติราชการเสริมให้ทั้งหมด มุ่งไปทางเดียวกัน การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในการให้บริการ การจัดสรรทรัพยากร ผลที่เกิดขึ้นยั่งยืน
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์เพื่อนำไปปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ผลการดำเนินการ มีการคาดการณ์ผลการดำเนินงาน โดยพิจารณาประเด็นดังต่อไปนี้ • ตามตัวชี้วัดสำคัญ • แผนระยะสั้น • แผนระยะยาว เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน กับ เป้าประสงค์ขององค์กร ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ผลงานที่คาดไว้ของคู่แข่ง เกณฑ์เปรียบเทียบที่สำคัญ
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria กิจกรรมกลุ่ม: การรายงานสุขภาพส่วนราชการ
ประเภทคำถาม : อะไร / อย่างไร คำถาม เปรียบเสมือนข้อชี้แนะให้พิจารณาในการปฎิบัติงาน อะไร (WHAT) • ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการหลักและวิธีปฏิบัติงานของกระบวนการนั้น • ผล แผนงาน เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ หรือตัวชี้วัดที่สำคัญ อย่างไร (HOW) • ให้ข้อมูลของกระบวนการที่สำคัญ เช่น วิธีการ ตัวชี้วัด การนำไปปฏิบัติ และปัจจัยด้านการประเมินผล การปรับปรุงและการเรียนรู้
ตัวอย่างการตอบคำถาม “อะไร” เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่สำคัญมีอะไรบ้าง • เป้าหมาย • ปี 2548 • 70% • 75% • เป้าหมาย • ปี 2549 • 75% • 75% • เป้าหมาย • ปี 2550 • 80% • 75% • เป้าประสงค์ • เพิ่มความพึงพอใจของผู้รับบริการ • รักษาระดับความพึงพอใจของบุคลากร • ตัวชี้วัด • ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ • ระดับความพึงพอใจของบุคลากร
ตัวอย่างการตอบคำถาม “อย่างไร” ผู้บริหารดำเนินการอย่างไรในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมขององค์กร เมื่อปี 2543 องค์กรจัดทำวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยม (รูป 1.1-1) โดยใช้กระบวนการ Consensus เพื่อให้ได้ฉันทามติจากคณะผู้บริหารระดับสูงและ คณะกรรมการบริหารองค์กร ผู้บริหารระดับสูงมีการทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมระหว่างกระบวนการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ประจำปี และทุก 3 ปี จะมีการทบทวนร่วมกับคณะกรรมการบริหารองค์กร เมื่อปี 2545 มีการเพิ่มเติมค่านิยมขึ้นอีก 1 ประการ ได้แก่ การให้ความสำคัญต่อชุมชน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมขององค์กรจะบรรจุอยู่ใน Strategy Matrix (รูป 2.2-3) ซึ่งจะเป็นตัวเชื่อมโยงวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยม ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ แผน-ปฏิบัติการ และตัวชี้วัดที่สำคัญขององค์กร
ตัวอย่างความสอดคล้องของ “อะไร” กับ “อย่างไร” ลักษณะสำคัญขององค์กร 2.ข (13) ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ คืออะไร • ความท้าทายตามพันธกิจ • ความท้าทายด้านปฏิบัติการ • ความท้าทายด้านทรัพยากรบุคคล คำถามหัวข้อ 2.1ข(2) (14) • ในการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์หลัก ส่วนราชการได้ให้ความสำคัญกับความท้าทายต่อองค์กร ที่ระบุไว้ในลักษณะสำคัญ ขององค์กร ข้อ 2 อย่างไร
Plan การแปลงวัตถุประสงค์สู่การปฏิบัติ
OrganizationSelf AssessmentPMQA Criteria 2 5 การวางแผน เชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1 7 ผลลัพธ์ ขององค์การ การนำ องค์การ 3 6 การมุ่งเน้น ลูกค้าและตลาด การจัดการ กระบวนการ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความ พึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • การกำหนดกลุ่มผู้รับบริการ • การรับฟังและเรียนรู้เพื่อกำหนดความต้องการของผู้รับบริการ • การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ • กลไกหลักๆที่ผู้รับบริการติดต่อส่วนราชการ • กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน • การวัดความพึงพอใจ ไม่พึงพอใจ • การใช้ช้อมูลมาปรับปรุงการดำเนินการ • การติดตามช้อมูลจากผู้รับบริการ