410 likes | 526 Views
Advisory board Dean Director of hospital Associate D ean s Heads of departments. Working committee Director Secretary general Treasurer Back office Business units ( 12 ). N orthern Neuroscience Center (2002). NNCC (BSU). แรงบันดาลใจของครูสู่การเรียนรู้ของทีม. บริบท
E N D
Advisory board Dean Director of hospital Associate Deans Heads of departments Working committee Director Secretary general Treasurer Back office Business units (12 ) Northern Neuroscience Center (2002)
แรงบันดาลใจของครูสู่การเรียนรู้ของทีมแรงบันดาลใจของครูสู่การเรียนรู้ของทีม บริบท การจัดตั้ง OPD เฉพาะทางให้บริการโรคประสาทที่ซับซ้อนโดยมีวัตถุประสงค์สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ด้านการเรียนการสอนresearchและการให้บริการชุมชน
ประเด็นสำคัญ/ ความเสี่ยงสำคัญ ที่ต้องการรักษากลุ่ม 5 โรค เนื่องจากกลุ่มโรคดังกล่าวมีการรักษาที่ค่อนข้างซับซ้อน ต้องใช้เวลานานในการตรวจประเมินอาการของผู้ป่วยและจำเป็นต้องใช้อายุรแพทย์ผู้ชำนาญทางด้านประสาทเป็นผู้ประเมิน ติดตามอย่างต่อเนื่องเพราะอาจมีการวินิจฉัยและรักษาที่ผิดพลาด และเพื่อให้สามารถค้นพบอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ให้การรักษาอย่างรวดเร็วจะส่งผลผู้ป่วยหายหรืออยู่ในสภาพที่ฟื้นตัวเร็วขึ้น เนื่องจากกลุ่มโรคดังกล่าวมีการรักษาที่ค่อนข้างซับซ้อน ต้องใช้เวลานานในการตรวจประเมินอาการของผู้ป่วยและจำเป็นต้องใช้อายุรแพทย์ผู้ชำนาญทางด้านประสาทเป็นผู้ประเมิน ติดตามอย่างต่อเนื่องเพราะอาจมีการวินิจฉัยและรักษาที่ผิดพลาด และเพื่อให้สามารถค้นพบอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ให้การรักษาอย่างรวดเร็วจะส่งผลผู้ป่วยหายหรืออยู่ในสภาพที่ฟื้นตัวเร็วขึ้น เนื่องจากกลุ่มโรคดังกล่าวมีการรักษาที่ค่อนข้างซับซ้อน ต้องใช้เวลานานในการตรวจประเมินอาการของผู้ป่วยและจำเป็นต้องใช้อายุรแพทย์ผู้ชำนาญทางด้านประสาทเป็นผู้ประเมิน ติดตามอย่างต่อเนื่องเพราะอาจมีการวินิจฉัยและรักษาที่ผิดพลาด และเพื่อให้สามารถค้นพบอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ให้การรักษาอย่างรวดเร็วจะส่งผลผู้ป่วยหายหรืออยู่ในสภาพที่ฟื้นตัวเร็วขึ้น เนื่องจากกลุ่มโรคดังกล่าวมีการรักษาที่ค่อนข้างซับซ้อน ต้องใช้เวลานานในการตรวจประเมินอาการของผู้ป่วยและจำเป็นต้องใช้อายุรแพทย์ผู้ชำนาญทางด้านประสาทเป็นผู้ประเมิน ติดตามอย่างต่อเนื่องเพราะอาจมีการวินิจฉัยและรักษาที่ผิดพลาด และเพื่อให้สามารถค้นพบอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ให้การรักษาอย่างรวดเร็วจะส่งผลผู้ป่วยหายหรืออยู่ในสภาพที่ฟื้นตัวเร็วขึ้น เนื่องจากกลุ่มโรคดังกล่าวมีการรักษาที่ค่อนข้างซับซ้อน ต้องใช้เวลานานในการตรวจประเมินอาการของผู้ป่วยและจำเป็นต้องใช้อายุรแพทย์ผู้ชำนาญทางด้านประสาทเป็นผู้ประเมิน ติดตามอย่างต่อเนื่องเพราะอาจมีการวินิจฉัยและรักษาที่ผิดพลาด และเพื่อให้สามารถค้นพบอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ให้การรักษาอย่างรวดเร็วจะส่งผลผู้ป่วยหายหรืออยู่ในสภาพที่ฟื้นตัวเร็วขึ้น เนื่องจากกลุ่มโรคดังกล่าวมีการรักษาที่ค่อนข้างซับซ้อน ต้องใช้เวลานานในการตรวจประเมินอาการของผู้ป่วยและจำเป็นต้องใช้อายุรแพทย์ผู้ชำนาญทางด้านประสาทเป็นผู้ประเมิน ติดตามอย่างต่อเนื่องเพราะอาจมีการวินิจฉัยและรักษาที่ผิดพลาด และเพื่อให้สามารถค้นพบอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ให้การรักษาอย่างรวดเร็วจะส่งผลผู้ป่วยหายหรืออยู่ในสภาพที่ฟื้นตัวเร็วขึ้น
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ(1)ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ(1) 1.การดูแลรักษาและด้านวิชาการให้เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน 2. ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้องและรวดเร็วโดยแพทย์เฉพาะทาง ลดขั้นตอนการปรึกษาระหว่าง แผนก (one stop service)ด้วยทีมแพทย์พยาบาลผู้รักษาที่ครบถ้วน ซึ่งเป็น PCTที่ให้การบริการตามนโยบายของโรงพยาบาล 3. ลดภาวะแทรกซ้อนและเพิ่ม คุณภาพชีวิตของผู้ป่วย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ(2)ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ(2) 4.มีงานวิจัยและพัฒนาการป้องกันและรักษาโรคแบบบูรณาการในอนาคต 5. สามารถกำหนดและใช้แนวทางการรักษาในแบบเดียวกัน 6. เป็นศูนย์ฝึกอบรมสำหรับแพทย์ประจำบ้านและบุคลากรทางการแพทย์สาขาต่างๆ เช่น ประสาทวิทยา ประสาทศัลยศาสตร์ อายุรแพทย์ ศัลยแพทย์ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูและนักเทคนิคการแพทย์พยาบาล specialist ทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ`
Wednesday OPD Project • 0930 – 1200 : Special OPD • 1300- 1600 : Research / Clinical trial • Place : 9th floor NNCC
Inclusion criteria : • 1 Headache OPD : These will include chronic daily headache, chronic migraine and interesting headache and also patients who are in the clinical trial. • 2. Neurodegenerative cases who are in late stage and or have long term complications in which need expertise such as Parkinson’s disease and related movement disorders , motor neurone disease , multiple sclerosis , dementia and neuromuscular disorders.
Wednesdayschedule • 1st Week : Dementia / MCI : • 2nd Week : Multiple sclerosis • 3rd Week : Myasthenia gravis and related disorders • 4th Week :Parkinson ‘s & movement disorder
Management Plan Human resources • Dr Siwapornwill be the supervisor • Staffs : neurology residents / medicine residents and electives : staffs from other hospital such as Prasath institute or Suanprung hospital are welcome
Management Plan Human resources • Nurses : from NNC and from nursing department • Psychologists : clinical trial unit • Rehabilitation : ????
Teaching plan for staffs • Staffs and residents : one day teaching course from external experts will be scheduled every 3 months . • 4-6th year medical students will be able to have the alternative teaching OPD. • NNCC staffs nurses : will have the intensive / hand on special teaching in order to be nurse specialist
Management plan for patients • All cases will have own electronic medical records and special tests / measurement according to their diseases. • All cases should finish the questionnaires or measurement before they meet the doctor. • All medication will be reviewed and all medication will be counted . And all adverse effect will be filled in the follow up form
Management plan for record • Headache : Headache questionnaires, headache diaries . Depression score and ADL such as MIDAS • Parkinson’s : Parkinson’s diary , ADL , Depression , the examples of all common drug used will be shown to patients. • Dementia : MMSE , batteries of memory test • M sclerosis : questionaires ,ADL
Management plan for patients • Patients waiting will have group therapy as well as group discussion and the VDO will be shown according to. • Brochures for patient information disease • Clinical practice guideline will be provided …
กระบวนการให้ได้มาซึ่งคุณภาพกระบวนการให้ได้มาซึ่งคุณภาพ • 1. การประเมินอาการผู้ป่วยเบื้องต้น จัดทำ guidelines การซักประวัติอาการ และside effect ของยา และจัดทำประวัติของผู้ป่วยแต่ละคนเพื่อสังเกต ติดตามประเมิน ตั้งแต่แรกเริ่มรักษา • 2. มีการรักษาโดยแพทย์เฉพาะทาง และทบทวนการรักษาโดยอาจารย์แพทย์ ประสานแพทย์สหสาขาในการดูแลผู้ป่วยร่วมกัน เช่น แพทย์จิตเวช, radiologist, anasthesist เป็นต้น • 3.การติดตามประเมินผลการดูแลรักษาโดยทำในรูปแบบงานวิเคราะห์และงานวิจัย
4. IST (The I5-Second Version of Isaacs” Set Test of Verbal • Fluency) count 10 subjects in 15 seconds ) • - สี ………………………………………………………….. • - สัตว์…………………………………………………………. • - ผลไม้ ………………………………………………………… • - เมือง ……………………………………………………….. • 5.The 4-LineVersion of Zazzo’sCancellation Test-ZCT Zazzo 1974 • เวลาที่ใช้ -- -------- วินาที • สรุปได้ทั้งหมด ------------- รูป • Zazzo pictures ……………………… • Zazzo time………………………….... • ระดับการศึกษา 0-5 ปี 6-9 ปี >10 ปี • ZCT Score (เวลาเป็นวินาที) และระดับการศึกษา (PAQUID) • ความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้น >38 >34 >28 • ZCT Score (จำนวนรูปที่ถูกต้อง) และระดับการศึกษา (PAQUID) • ความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้น >12 >13 >13 • 6 The 5 item version of instrumentral activities of daily iving • Modified Lawton’s scale (5-IADL) • สามารถ ไม่สามารถ • 0 1 2 3 4 • - ใช้โทรศัพท์ • เขียนและส่งจดหมาย • การเดินทาง • รับประทานยา • จับจ่ายใช้สอย • มีส่วนร่วมกับกิจกรรมทางสังคม • งานอดิเรก แบบประเมิน Dementia (ต่อ) Battery tests for dementia
คลินิก Dimentia วันที่ ----------------- น.น. ------- BP ------ 1.คะแนน MMSE /TMSE -------------------- 2. ยาที่ใช้ในปัจจุบัน 2.1 ความดันโลหิตสูงมี ไม่มี ยาที่ใช้ - ยาขับปัสสาวะ ------- - B-blocker ------- - calcium channel blocker ------- - ACEI ------- - B- blocker ------- -ARB ------- - others -------- 2.2 เบาหวาน -------- - อาหาร -------- - oral anti-diabetic drug -------- - Insulin -------- 2.3 ไขมันในเลือดสูง มี ไม่มี ยาที่ใช้ - Statin -------- - Fibrate -------- - others -------- 2.4 โรคหัวใจหลอดเลือด -------- - antiplatelets -------- - Anti-coagulant -------- - others -------- 2.5 โรคจิต -------- - Benzodiazepine -------- - Antidepressant -------- - Anti psychotic --------- - AED -------- - others -------- 3 : Memory drugs - ACE Inhibitor -------- - Ebixa -------- - others -------- Dementia clinic แบบประเมิน Dementia Questionaires for drug used
MG From 2542 till 2549
Nurse report for MG progression before seeing doctor
5.Empower ผู้ป่วยและญาติให้ส่วนร่วมในการดูแลรักษาพยาบาล เช่น การสังเกตอาการของตนเองโดยทำแบบประเมินอาการเปลี่ยนแปลง ให้ข้อมูลการแพ้ยาหรือside effect ของยาที่ได้รับ • 6. จัดGroup therapyเพื่อให้ผู้ป่วย ญาติผู้ดู แพทย์และทีมงาน ได้เล่าถึงประสบการณ์การเจ็บป่วย การดูแลรักษาพยาบาล เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน • 7.จัดทำโครงการฝึกสมาธิภาวนาให้แก่ผู้ป่วยและญาติ Innovation
แบบรายงานอาการของผู้ป่วย parkinson Designed for patients , done by patients at home for patients advantage
8. มีการฝึกอบรมแพทย์และเจ้าหน้าที่อย่างต่อเนื่องจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญทั้งในและต่างประเทศ ประมาณ 2-3 เดือนละ / ครั้ง 9. จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยได้เข้าถึงบริการได้ง่ายและรู้สึกผ่อนคลายในการรอพบแพทย์
Group education from internal /external sources
ผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพ 1.ตัวอย่างผลการรักษาพยาบาลผู้ป่วย MG ( 20 กย.49) จากแฟ้มผู้ป่วย 15 คน อาการอ่อนแรง • ผู้ป่วยไม่มีอาการอ่อนแรง 2 คน(อ่อนแรงเป็น 0) 13.33 % • ผู้ป่วยมีอาการอ่อนแรงระดับ 1 5 คน33.33 % • ผู้ป่วยมีอาการอ่อนแรงระดับ23 คน20 % • ผู้ป่วยมีอาการอ่อนแรงระดับ 3 5 คน 33.33 %
หมายเหตุ • ผู้ป่วยที่ไม่มีอาการอ่อนแรง เกิดจากออกกำลังกายสม่ำเสมอและปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ผู้รักษา • อ่อนแรงระดับ 1เพราะมีตามองเห็นภาพซ้อน เสียงแหบ นอนไม่หลับ (สูงอายุ) • อ่อนแรงระดับ 2 เพราะมีหนังตาตกบางครั้งและปวดแขนขาเป็นบางครั้ง • อ่อนแรงระดับ 3เพราะ อ่อนเพลียจากมีครรภ์ , เป็นหวัด, เป็นต้อกระจก ความดันโลหิตสูง ปวดศีรษะ
ความสามารถในการควบคุมตนเองได้ความสามารถในการควบคุมตนเองได้ • ระดับ 8-10คิดเป็น 84.6 % • ระดับ 7คิดเป็น 7.7 % • ระดับ 6คิดเป็น 7.7 % หมายเหตุ 1. ถึงแม้ผู้ป่วยจะมีอาการหนังตาตกและปวดแขนขาเป็นบางครั้ง แต่ก็คิดว่าตนเองมีความสามารถในการควบคุมตนเองได้ในระดับ 10 มีความรู้ในระดับ 5-10 บางคนอยู่ในช่วง remission หยุดยา แต่ก็มา FU อย่างสม่ำเสมอ ความสามารถในการควบคุมตนเองระดับต่ำกว่า 8 จากการตั้งครรภ์ เป็นหวัด เป็นต้อกระจก ความดันโลหิตสูง ปวดศีรษะ
ความคิดเห็นของผู้รับบริการความคิดเห็นของผู้รับบริการ 2.1 ความเชื่อมั่นของผู้รับบริการต่อระบบของ OPDศูนย์โรคสมองระดับ 9-10 = 93.75%ระดับ 8 = 6.25% (จาก 0-10)
2.2 อะไรคือการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ • มีการให้คำแนะนำกับผู้ป่วยเกี่ยวกันโรคที่เป็น group therapy • การบริการที่ดีและรวดเร็วขึ้น มีโครงสร้างของอาคารใหม่และปรับปรุง อาคารต่างๆ ดีขึ้น • การบริการของแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่และพฤติกรรมการบริการดีกว่า ที่อื่น • มีการเปิดคลินิกโรค headache ,dementia , multiple sclerosis , Myasthenia gravis, Parkinson’s • มีผู้มาใช้บริการมากขึ้น • ไม่ต้องรอนานในการเข้าพบแพทย์ ได้รับยาจากห้องยาโดยรวดเร็ว
2.3 ท่านมีปัญหาเกี่ยวกับการเข้ารับบริการในเรื่องต่อไปนี้หรือไม่: 2.3.1การมาพบแพทย์ - รอพบแพทย์นานเพราะต้องออกบ้านมาตั้งแต่ตี 4 กว่า - ไม่มีปัญหา เคยรักษาที่อื่นแล้วแพทย์ไม่สามารถวินิจฉัยได้ เคยได้ยามาจากที่อื่น แต่อาการทรุดลง มารอดชีวิตเมื่อมารักษาที่นี่ - มีปัญหา บ้านอยู่ไกล เสียค่าใช้จ่ายมาก
2.3.2 ความรู้เกี่ยวกับโรคที่เป็น • รู้ว่าความจำของพ่อไม่ค่อยดี บางครั้งจำได้เรื่องเก่าๆ จะจำเรื่องใหม่ๆ เป็นบางครั้ง • มีความรู้เยอะพอสมควรจากแพทย์ทำตามแพทย์สั่ง • ได้เข้าไปฟัง พญ.ศิวาพร ให้ความรู้เรื่องโรค MG ทำให้เข้าใจชัดเจนขึ้น • แพทย์ที่ตรวจให้ความรู้เรื่องโรคอย่างมาก แพทย์สามารถตอบได้ทันที เช่น พ.ศศิวิมล และ พ.เฮเลน (2 คน) • มีพอสมควร จากเอกสารของโรงพยาบาล จากคำอธิบายของแพทย์และพยาบาล
3. อัตราบันทึกการวินิจฉัยโรค (ICD 10 ) ใน ระบบOn-line มากกว่า >80 %
กัลยาณมิตร หมายถึง ผู้ที่หวังดีให้ความช่วยเหลือ ว่ากล่าวตักเตือน แนะนำ ไม่ปล่อยให้คิดผิด พูดผิด ทำผิด ทั้งๆ ที่รู้ ไม่ปล่อยให้มีภัยมีความเสื่อมเสียเกิดขึ้น แม้ป้องกันได้ แม้จะเป็นผู้ที่ไม่รู้จักมักคุ้นเคย แม้ที่อยู่ห่างไกล ไม่เคยพบเห็น แต่เมื่อมีใจมุ่งดีปรารถนาดีจริงใจต่อผู้ใด คิดพูดทำทุกอย่าง เพื่อป้องกันช่วยเหลือผู้นั้น เต็มสติปัญญาความสามารถ ให้พ้นความเสื่อมเสียทุกประการ ไม่ว่ามากน้อยหนักเบา ก็นับได้ว่าป็นกัลยาณมิตร