1 / 51

หัวข้อการนำเสนอ

หัวข้อการนำเสนอ. บทบาทหน้าที่ของสำนักงาน คปภ. แผนพัฒนาการประกันภัย ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2553 – 2557) ภาพรวมของธุรกิจประกันภัยไทย Micro Insurance สำหรับการประกันวินาศภัย & Weather Index. บทบาทหน้าที่ของสำนักงาน คปภ. ส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ. หน้าที่. กำกับ ดูแล การประกอบ

brent-lara
Download Presentation

หัวข้อการนำเสนอ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หัวข้อการนำเสนอ • บทบาทหน้าที่ของสำนักงาน คปภ. • แผนพัฒนาการประกันภัย ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2553 – 2557) • ภาพรวมของธุรกิจประกันภัยไทย • Micro Insuranceสำหรับการประกันวินาศภัย & Weather Index

  2. บทบาทหน้าที่ของสำนักงาน คปภ. ส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ หน้าที่ กำกับ ดูแล การประกอบ ธุรกิจประกันภัย คุ้มครองสิทธิ ประโยชน์ ประชาชน

  3. การส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจ การให้ความรู้ ความเข้าใจ การส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจ การเพิ่มช่องทางการจำหน่าย การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัย

  4. การกำกับดูแลบริษัทประกันภัยการกำกับดูแลบริษัทประกันภัย การพิจารณาให้ใบอนุญาตประกอบธุรกิจ (Lisensing) เงินสำรองประกันภัย และสินทรัพย์หนุนหลัง การกำกับการออกผลิตภัณฑ์ประกันภัย การกำกับ การกำกับมาตรฐาน คนกลางประกันภัย การกำกับการลงทุน การดำรงเงินกองทุน การกำกับมาตรฐาน นักคณิตศาสตร์ การกำกับ ตรวจสอบ ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน (Off-site monitoring / On-site inspection) การคืน/ยกเลิก ใบอนุญาตประกอบธุรกิจ (Winding-up) การใช้มาตรการป้องกันและแก้ไขสถานการณ์ (Preventive and corrective measures) การใช้มาตรการแทรกแซง (Sanction)

  5. การคุ้มครองสิทธิประโยชน์การคุ้มครองสิทธิประโยชน์ ไกล่เกลี่ยประนีประนอมข้อพิพาท การคุ้มครองสิทธิประโยชน์ อนุญาโตตุลาการ กำหนดมาตรฐานการให้บริการ

  6. กฎหมายด้านการประกันภัยกฎหมายด้านการประกันภัย พระราชบัญญัติคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย พ.ศ.2550 พระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ.2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ ประกันชีวิต(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551 พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ.2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2540, แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550, แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2551) 6

  7. แผนพัฒนาการประกันภัย ฉบับที่ 2(พ.ศ. 2553 – 2557)

  8. แผนพัฒนาการประกันภัย ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2553 – 2557) I II III IV วิสัยทัศน์ ระบบประกันภัยไทยเป็นกลไกสำคัญในการสร้างหลักประกันความมั่นคงของสังคมทุกระดับมีความเข้มแข็ง เป็นมาตรฐานสากลพร้อมรับความท้าทายในอนาคต มาตรการ หลัก เสริมสร้าง ความเชื่อมั่น และการเข้าถึงระบบประกันภัย เสริมสร้างเสถียรภาพของระบบประกันภัย เพิ่มมาตรฐานการให้บริการและการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ ส่งเสริมโครงสร้างพื้นฐาน เป้าหมาย 1) Insurance Penetration เพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ 6.00 2) เพิ่มจำนวนเบี้ยประกันภัยต่อจำนวน ประชากร เป็น 7,500 บาท 3) เพิ่มจำนวนกรมธรรม์ประกันชีวิตต่อ จำนวนประชากร เป็น ร้อยละ 40 4) เพิ่มจำนวนกรมธรรม์ประกันภัยแบบ ไมโครอินชัวรันส์ร้อยละ 20 1) ทุกบริษัทมีอัตราส่วนเงินกองทุน ต่อเงินกองทุนที่ต้องดำรงไว้ตาม กฎหมาย ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 120 2) ลดระยะเวลาในการให้ความ เห็นชอบกรมธรรม์ฯลง ร้อยละ 25 3) จำนวนแบบกรมธรรม์ File& Use เพิ่มขึ้น ร้อยละ 30 1) บริษัทมีระบบงานที่เป็น มาตรฐาน ตามมาตรฐาน ICPs 2) จัดทำโครงสร้างและรูปแบบ การบริหารงานขององค์กร พิจารณาตัดสินข้อพิพาทด้านการ ประกันภัย (Insurance Dispute Resolution Organization :IDRO) 1) ธุรกิจประกันภัยมีความพร้อม ด้านบุคลากร 2) มีฐานข้อมูลกลางของธุรกิจ ประกันภัยครบวงจร (I – Site) 3) ร่างกฎหมายแม่บทว่าด้วยการ ประกันภัยฉบับใหม่แล้วเสร็จ

  9. บริษัทประกันวินาศภัย 68 บริษัท ภาพรวมของธุรกิจประกันภัยไทย บริษัทประกันชีวิต 24 บริษัท • คนกลางประกันภัย • ตัวแทนประกันชีวิต • ตัวแทนประกันวินาศภัย • นายหน้าบุคคลธรรมดา • นายหน้านิติบุคคล

  10. ภาพรวมของธุรกิจประกันภัยไทย (ต่อ) สถิติคนกลางประกันภัย ปี 2553 นายหน้าบุคคลธรรมดา 12.33%, 49,603 คน นายหน้านิติบุคคล 249 คน ตัวแทนประกันวินาศภัย 6.59%, 26,533 คน ตัวแทนประกันชีวิต 64.50%, 259,495 คน

  11. Micro Insuranceสำหรับการประกันวินาศภัย & Weather Index

  12. Micro Insuranceสำหรับการประกันวินาศภัย & Weather Index 2.เบี้ยประกันภัยไม่สูง 1.ประชากรกลุ่มเป้าหมายมีรายได้น้อย 3.กรมธรรม์ฯเขียนด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย 4.ความคุ้มครองไม่ซับซ้อน 5.มีเงื่อนไขข้อยกเว้นน้อย 6.ขั้นตอบการเรียกร้องค่าสินไหมฯไม่ยุ่งยาก 7.เข้าถึงผู้เอาประกันภัยง่าย

  13. ประเภทของการประกันวินาศภัย ไมโครอินชัวรันส์ 1 การประกันอัคคีภัยที่อยู่อาศัยแบบประหยัดสำหรับรายย่อย (ไมโครอินชัวรันส์)

  14. กรมธรรม์ประกันอัคคีภัยที่อยู่อาศัยแบบประหยัดกรมธรรม์ประกันอัคคีภัยที่อยู่อาศัยแบบประหยัด สำหรับรายย่อย (ไมโครอินชัวรันส์)

  15. 2 การประกันภัยอุบัติเหตุสำหรับรายย่อย (ไมโครอินชัวรันส์) ใช้สำหรับเป็นกรมธรรม์ประกันวินาศภัย & สัญญาแนบท้ายกรมธรรม์ประกันชีวิต

  16. เบี้ยประกันภัยรวมอากรและภาษีมูลค่าเพิ่ม 450 บาท กรมธรรม์ประกันภัยอุบัติเหตุ สำหรับรายย่อย (ไมโครอินชัวรันส์) 1. 2. 3. 4.

  17. 1. 2. การประกันภัยพืชผลที่ดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน การประกันภัยพืชผลจากภัยแล้งโดยใช้ดัชนีความแห้งแล้งและดัชนีน้ำฝนสำหรับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ การประกันภัยพืชผลจากภัยแล้ง โดยใช้ดัชนีน้ำฝน (ข้าว)

  18. การประกันภัยพืชผลจากภัยแล้งโดยใช้ดัชนีความแห้งแล้งและดัชนีน้ำฝนการประกันภัยพืชผลจากภัยแล้งโดยใช้ดัชนีความแห้งแล้งและดัชนีน้ำฝน สำหรับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ความร่วมมือ สำนักงาน คปภ. สมาคมประกันภัยวินาศภัย ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) บมจ. ไทยรับประกันภัยต่อ ธนาคารโลก

  19. การประกันภัยพืชผลจากภัยแล้งโดยใช้ดัชนีความแห้งแล้งและดัชนีน้ำฝนการประกันภัยพืชผลจากภัยแล้งโดยใช้ดัชนีความแห้งแล้งและดัชนีน้ำฝน สำหรับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2549 โครงการนำร่อง อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พืชที่คุ้มครอง รับประกันภัยจริง ปี 2550

  20. การประกันภัยพืชผลจากภัยแล้งโดยใช้ดัชนีความแห้งแล้งและดัชนีน้ำฝนการประกันภัยพืชผลจากภัยแล้งโดยใช้ดัชนีความแห้งแล้งและดัชนีน้ำฝน สำหรับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ขยายพื้นที่รับประกันภัย ปี 2551 ปี 2552 เพชรบูรณ์ 14แห่งใน 5 จังหวัดเดิม ลพบุรี 8 แห่งใน 5 จังหวัด นครสวรรค์ นครราชสีมา สระบุรี

  21. การประกันภัยพืชผลจากภัยแล้งโดยใช้ดัชนีความแห้งแล้งและดัชนีน้ำฝนการประกันภัยพืชผลจากภัยแล้งโดยใช้ดัชนีความแห้งแล้งและดัชนีน้ำฝน สำหรับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เพชรบูรณ์ ลพบุรี นครสวรรค์ นครราชสีมา สระบุรี ปี 2553 เพิ่มอีก 2 จังหวัดคือ น่าน พิษณุโลก

  22. การแบ่งช่วงระยะเวลาเพาะปลูก 4 ช่วง ประกันคุ้มครองเฉพาะ 3 ช่วงแรก ระยะที่ 4 เก็บเกี่ยว ระยะที่ 3 ออกดอกออกฝัก (30 วัน) ระยะที่ 2 เจริญเติบโต (20 วัน) ระยะที่ 1 หยอดเมล็ด (30 วัน)

  23. จ่ายค่าชดเชยในอัตราสูงสุดจ่ายค่าชดเชยในอัตราสูงสุด ดัชนีความแห้งแล้งสะสมขั้นสูง จ่ายค่าชดเชยบางส่วน ดัชนีความแห้งแล้งสะสมขั้นต่ำ ไม่จ่ายค่าชดเชยเลย ระยะที่ 1 หยอดเมล็ด (30 วัน)

  24. ดัชนีน้ำฝนสะสมขั้นสูงดัชนีน้ำฝนสะสมขั้นสูง จ่ายค่าชดเชยบางส่วน ดัชนีน้ำฝนสะสมขั้นต่ำ ระยะที่ 2 และ 3 ไม่จ่ายค่าชดเชย จ่ายค่าชดเชยในอัตราสูงสุด

  25. ผลการดำเนินงานปี 2553

  26. การประกันภัยพืชผลประเภทภัยแล้ง โดยใช้ดัชนีน้ำฝน สำหรับการผลิตข้าว ความร่วมมือ • สำนักงาน คปภ. • ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) • บริษัทสมโพธิ์เจแปนฯ • ธนาคารเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น (JBIC) โครงการนำร่อง ปี 2552 รับประกันภัยจริงในทุกอำเภอ ของ จ.ขอนแก่น • พื้นที่นำร่อง 5 อำเภอ จ.ขอนแก่น • อ.เมือง • อ.พล • อ.หนองสองห้อง • อ.ชุมแพ • อ.บ้านไผ่ ปี 2553

  27. การประกันชีวิต

  28. แบบตลอดชีพ แบบสะสมทรัพย์ แบบบำนาญ แบบชั่วระยะเวลา กรมธรรม์ประกันชีวิต กรมธรรม์ Unit-Linked

  29. ประกันอุบัติเหตุ โรค ร้ายแรง ยกเว้น เบี้ย ประกัน สุขภาพ สัญญาเพิ่มเติมกรมธรรม์ประกันชีวิต

  30. การหักลดหย่อนภาษีเงินได้จากเบี้ยประกันชีวิตการหักลดหย่อนภาษีเงินได้จากเบี้ยประกันชีวิต • ทำกับบริษัทหรือสาขาบริษัทต่างประเทศในประเทศไทย • ระยะเวลาประกันภัย ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป • หากมีเงินคืนระหว่างปีต้องไม่เกิน 20% ของเบี้ยประกันภัย

  31. Contact Us ฝ่ายวางแผนการส่งเสริมการประกันภัย โทรศัพท์ : 0-2515-5201, 02-515-3995-9 ต่อ 3701, 3309 E-mail : ip@oic.or.th

  32. ขอบคุณ

  33. การประกันวินาศภัยเพื่อ ผู้ประกอบธุรกิจ

  34. คุ้มครองความเสียหายจากคุ้มครองความเสียหายจาก ไฟไหม้ ฟ้าผ่า แรงระเบิดของแก๊ส 1.การประกันอัคคีภัยสำหรับสถานประกอบการ และ โรงงาน

  35. ภัยลมพายุ ภัยลูกเห็บ ภัยระเบิด ภัยจากอากาศยาน ภัยจากยวดยานพาหนะ ภัยจากควัน ภัยแผ่นดินไหว ภัยน้ำท่วม ภัยเนื่องจากน้ำ ภัยจลาจลและนัดหยุดงาน หรือการกระทำอันมีเจตนาร้าย ภัยเกิดขึ้นเองตามปกติวิสัย มีการ ลุกไหม้หรือการระเบิด ภัยเกิดขึ้นเองตามปกติวิสัย และ/หรือ ไม่มีการลุกไหม้หรือการระเบิด ภัยต่อเครื่องไฟฟ้า ภัยเพิ่มเติมพิเศษ

  36. 2. การประกันภัยความเสี่ยงภัยทรัพย์สิน ความคุ้มครอง • ความเสียหายต่อทรัพย์สิน จากอุบัติเหตุจากปัจจัยภายนอก ทุกชนิด ที่ไม่ได้ระบุยกเว้นไว้

  37. 3.การประกันภัยธุรกิจขนาดย่อมแบบแพคเกจ3.การประกันภัยธุรกิจขนาดย่อมแบบแพคเกจ ความคุ้มครอง อาจแบ่งเป็นหลาย หมวดความคุ้มครอง ดังนี้ 1) การประกันอัคคีภัย หรือ 2)การประกันภัยความเสี่ยงภัยทรัพย์สิน 3) การประกันภัยโจรกรรม คุ้มครองความเสียหายของทรัพย์สินภายในสิ่งปลูกสร้างที่เอาประกันภัยอันเนื่องมาจากการลักทรัพย์ที่ปรากฏร่องรอยการงัดแงะ รวมถึงความเสียหายต่อสิ่งปลูกสร้าง 4) การประกันภัยธุรกิจหยุดชะงัก

  38. 5) การประกันภัยเงิน ความสูญหรือ เสียหาย • ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ( ในเวลาทำงาน) • โจรกรรมจากตู้นิรภัย หรือ ห้องนิรภัย • ต่อตัวตู้นิรภัย ตัวอาคาร จากการชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ การโจรกรรมเงินจากตู้นิรภัย ห้องนิรภัย 6) ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล คุ้มครองเสียชีวิตหรือทุพพลภาพถาวรภายใน180 วัน อันเป็นผลมาจากอุบัติเหตุจากภัยที่คุ้มครองและเกิดภายในบริเวณสถานที่เอาประกันภัย (ผู้เอาประกันภัยและบุคคลในครอบครัว: คู่สมรส และบุตร)

  39. 4. การประกันภัยความรับผิดบุคคลภายนอก คุ้มครองความเสียหายที่เกิดขึ้นกับบุคคลภายนอก 1.การเสียชีวิต บาดเจ็บต่อร่างกาย 2.ความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก

  40. 5. การประกันภัยสินเชื่อทางการค้า ผู้เอาประกันภัย - ผู้ขายหรือผู้ส่งออก ความคุ้มครอง 1)การผิดนัดชำระค่าสินค้าจากความเสี่ยงทางการค้า เช่น - ผู้ซื้อล้มละลาย - ผู้ซื้อปฏิเสธการชำระเงิน 2)การผิดนัดชำระจากความเสี่ยงทางการเมือง เช่น - การควบคุมการโอนเงิน - การห้ามนำเข้าสินค้า เป็นต้น

  41. สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย Office of Insurance Commission 6. การประกันภัย ความรับผิดอันเกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย ผู้เอาประกันภัย- ผู้ประกอบการ ได้แก่ ผู้ผลิต/ผู้ว่าจ้างให้ผลิต/ผู้นำเข้า/ผู้ขาย ความคุ้มครอง ความรับผิดตามกฎหมายของผู้ประกอบการต่อความเสียหายที่เกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย เป็นผลให้เกิด 1. การเสียชีวิต หรือการบาดเจ็บ 2. ความสูญเสีย หรือเสียหายต่อทรัพย์สิน 3. ค่าใช้จ่ายในการฟ้องร้อง และดำเนินคดี

  42. 7. การประกันภัยป้ายโฆษณา • 1.ความเสียหายต่อตัวป้ายจากอุบัติเหตุภายนอก ไฟไหม้ ฟ้าผ่า ระเบิด หรือการลักขโมย • 2. ความเสียหายต่อความบาดเจ็บ หรือการเสียชีวิตของบุคคลภายนอก หรือทรัพย์สินของบุคคลภายนอก อันเป็นผลมาจากอุบัติเหตุที่เกิดจากป้ายโฆษณา

  43. 8. กรมธรรม์ประกันภัยคุ้มครองการว่างงาน ข้อตกลงความคุ้มครอง - ลูกจ้างถูกเลิกจ้าง / นายจ้างปิดกิจการ จำนวนเงินเอาประกันภัย = ½ ของเงินเดือนประจำปัจจุบัน x 3 อัตราเบี้ยประกันภัย 2%- 15% ของจำนวนเงินเอาประกันภัย

  44. การประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศการประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศ เป็นการประกันภัยความสูญเสียหรือความเสียหายของสินค้า ที่ขนส่งภายในประเทศ ทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ แบ่งออกเป็น 2 แบบ • แบบระบุภัย • แบบคุ้มครองความเสี่ยงภัยทุกชนิด

  45. แบบระบุภัย อัคคีภัย การระเบิด หรือฟ้าผ่า ยานพาหนะ ชนกับ สิ่งหนึ่งสิ่งใดนอกยานพาหนะนั้น เรือจมหรือเกยตื้น เครื่องบินตก รถไฟตกราง เป็นต้น ภัยเพิ่มพิเศษอื่น แบบเสี่ยงภัยทุกชนิด การเสียหายหรือสูญเสีย อันเกิดจากอุบัติเหตุ ความเสียหายทั่วไป (General Average) ค่ากู้ภัย ความคุ้มครอง

  46. การประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศการประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศ

  47. 9.การประกันภัยทางทะเลและการขนส่ง9.การประกันภัยทางทะเลและการขนส่ง แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. การประกันภัยตัวเรือ 2. การประกันภัยการขนส่งสินค้า

  48. การประกันภัยการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศการประกันภัยการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ เป็นการให้ความคุ้มครองสินค้า จากภัยอันตรายและความเสียหาย ในระหว่างการขนส่งโดยทางเรือ ทางอากาศ ทางบกหรือทางพัสดุภัณฑ์ จากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง

  49. ความคุ้มครอง มีเงื่อนไขความคุ้มครองแบ่งออกเป็น 3 ประเภท • Institute Cargo Clauses ( C ) คุ้มครองความสูญเสียที่มีต่อสินค้าจากภัยต่าง ๆได้แก่ ไฟไหม้ ระเบิด เรือเกยตื้น เรือจม พลิกคว่ำ เรือชนกัน การขนส่งสินค้าลงจากเรือ ณ ท่าเรือหลบภัย ความเสียหายที่เกิดกับส่วนรวมหรือสินค้าถูกโยนทิ้งทะเล • Institute Cargo Clauses ( B ) ให้ความคุ้มครองเหมือน( C ) แต่ขยายรวมถึง แผ่นดินไหว, ภูเขาไฟระเบิด ฟ้าผ่า สินค้าถูกคลื่นซัดตกทะเล น้ำเข้าในระวาง • Institute Cargo Clauses ( A ) คุ้มครองความเสียหายจากภัยทุกชนิดที่ไม่ได้ระบุไว้ในข้อยกเว้น

  50. เงื่อนไขการซื้อสินค้าระหว่างประเทศเงื่อนไขการซื้อสินค้าระหว่างประเทศ • F.O.B (Free on Board) ราคาเฉพาะสินค้าอย่างเดียว ผู้ขายมีหน้าที่นำสินค้าส่งขึ้นเรือโดยไม่ต้องจ่ายค่าระวางและไม่ต้องจัดทำประกันภัย • C & F (Cost and Freight) ราคาสินค้า+ค่าระวาง ผู้ขายมีหน้าที่นำสินค้าขึ้น เรือและจ่ายค่าระวางไม่ต้องจัดทำประกันภัย • C.I.F (Cost Insurance and Freight) ราคาสินค้า + ค่าระวาง+ประกันภัยเป็นหน้าที่ของผู้ขาย

More Related