300 likes | 650 Views
แนวทางการบริหารงาน เขตสุขภาพที่ 5 ปี 2557. นพ สุริยะ วงศ์คงคาเทพ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข. การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข. การกำหนดบทบาท 3 ส่วนให้ชัดเจน National Health Authority (NHA) & Regulator Purchaser หมายถึง สปสช. Provider หมายถึง เครือข่ายบริการ และหน่วยบริการ.
E N D
แนวทางการบริหารงาน เขตสุขภาพที่ 5 ปี 2557 นพ สุริยะ วงศ์คงคาเทพ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุขการปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข • การกำหนดบทบาท 3 ส่วนให้ชัดเจน • National Health Authority (NHA) & Regulator • Purchaser หมายถึง สปสช. • Provider หมายถึง เครือข่ายบริการ และหน่วยบริการ 2. การพัฒนาบทบาท NHA ของ กสธ. เบื้องต้นได้กำหนด “เป้าหมาย” ในรูป KPI ระดับกระทรวง ซึ่งปี 2557 มี 50 ตัว 3. พัฒนารูปแบบการทำงานร่วมกันระหว่าง กสธ. และ สปสช. โดยใช้ PP model เป็นตัวอย่างนำร่อง
การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุขการปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข • 4. การพัฒนาบทบาท ผู้ให้บริการ (Provider) • การจัด “เขตบริการสุขภาพ” 12 เขต ปกด. ผตร. CEO, คกก.เขตบริการสุขภาพ และ สนง.เขตบริการสุขภาพ • จัดทำ “Service plan” ในแต่ละเขตบริการ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการ ปกด. แผนพัฒนา 10 สาขา, แผน พบส., แผนลงทุน ปี 2558-60 และแผนบุคลากร • กำหนดให้ทุกเขตจัดทำ “แผนสุขภาพเขต” เป็นครั้งแรก ปกด. แผนบริหารจัดการ แผนบริการ และแผน สสปก. • รูปแบบการทำงาน “บริหารงานร่วม” ปกด. งานบริการ บริหารงบประมาณ/กำลังคน งานจัดซื้อร่วม
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงกระทรวงสาธารณสุขข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงกระทรวงสาธารณสุข คณะกรรมการนโยบายระบบสาธารณสุข(PHSPB) กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานรัฐมนตรี สำนักงานบริหารยุทธศาสตร์/ยกระดับ สนย. สำนักงานปลัดกระทรวง กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์ กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการสาธารณสุข กลุ่มภารกิจด้าน สนับสนุนงานบริการสุขภาพ คณะกรรมการ เขตบริการสุขภาพ • หน่วยงานในกำกับ : • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข • สำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ • สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ • สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ • สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ • องค์การมหาชน : • โรงพยาบาลบ้านแพ้ว • สถาบันรับรองคุณภาพ • สถานพยาบาล • รัฐวิสาหกิจ : • องค์การเภสัชกรรม
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กลุ่มตรวจสอบภายใน 3 CLUSTER กลุ่มภารกิจด้านสนับสนุน กลุ่มภารกิจด้านยุทธศาสตร์ กลุ่มภารกิจด้านประสานบริการ สำนักพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข สำนักตรวจและประเมินผล สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ (บทบาทระดับชาติ/กระทรวง/สป.) สำนักบริหารกลาง สำนักการพยาบาล - กลุ่มบริหารทั่วไป - กลุ่มคลังและพัสดุ - กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม • IHPP , HITAP สำนักวิชาการ สำนักพัฒนานโยบายการคลังและเศรษฐกิจสุขภาพ (CFO กลาง) สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักบริหารงานบุคคล สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมพัฒนากฎหมายเพื่อสุขภาพ สำนักการคลังเขตสุขภาพ (CFO ระดับเขต) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำลังคนด้านสุขภาพ ข้อเสนอโครงสร้างแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สบช./วนส./แก้วกัลยา/สบพช. สำนักการสาธารณสุขระหว่างประเทศ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศฯ สนง. เขตบริการสุขภาพ 1-12 สำนักสารนิเทศ สำนักส่งเสริมและสนับสนุน อาหารปลอดภัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หน่วยงานที่ตั้งเป็นการภายใน สป. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ • ศูนย์ประสานการแก้ปัญหาข้อร้องเรียน • - ศูนย์สันติวิธีสาธารณสุข • - กลุ่มกระจายอำนาจ, อื่นๆ ศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
รพ. สังกัดอื่น ข้อเสนอโครงสร้างระบบสาธารณสุขในระดับเขต กระทรวงสาธารณสุข สนง.ประสานงานเขต สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สนง. เขตบริการสุขภาพ คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ หน่วยงานวิชาการ หน่วยงานวิชาการ รพ. เอกชน กรมต่าง ๆ หน่วยงานวิชาการ รพศ./รพท./รพช./รพสต. กรมต่าง ๆ กรมต่าง ๆ กรมต่าง ๆ รพ. มหาวิทยาลัย อปท.
แนวทางการบริหารเขตสุขภาพแนวทางการบริหารเขตสุขภาพ การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ การพัฒนาระบบข้อมูล การพัฒนาระบบบริหาร การบริหารจัดการเขตสุขภาพ
1. การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ
ตัวชี้วัด เขตบริการสุขภาพที่ ๕ KPI กระทรวง (44) KPI พื้นฐาน KPI เขต (6) จังหวัด แผนงานแก้ไขปัญหา การตรวจราชการนิเทศงาน การจัดสรรงบประมาณ การนำแผนสู่การปฏิบัติ
โครงสร้างแผนงานเขตสุขภาพ ปี ๕๗ บริการ สส ปก บริหาร สุขภาพสตรี และเด็ก 0-5 + BS การเงินการคลัง พัฒนาบริการ 10 สาขา การบริหารกำลังคน-จริยธรรม สุขภาพเด็กวัยเรียน + BS พัฒนาระบบส่งต่อ การบริหารระบบข้อมูล คุณภาพบริการ สุขภาพวัยรุ่น + BS การบริหารเวชภัณฑ์ การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย สุขภาพวัยทำงาน พัฒนาประสิทธิภาพ ซื้อ/จ้าง ยาเสพติด สุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ โครงการพระราชดำริ อาหารปลอดภัย การควบคุมโรคติดต่อ แผนสุขภาพเขต สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ (๒๐ แผน) การมีส่วนร่วมภาคประชาชน
แผนพัฒนาสุขภาพ ยุทธศาสตร์สุขภาพเขต แผนสุขภาพเขต แผนงบประมาณ เขต แผนแก้ไขปัญหาในภาพรวม แผนสุขภาพจังหวัด แผนปฏิบัติของ จังหวัด แผนแก้ไขปัญหาพื้นที่ แผนสุขภาพอำเภอ แผนปฏิบัติของ หน่วยบริการ
แผนบูรณาการเชิงรุก เห็นทิศทางในภาพรวม แผนยุทธศาสตร์ เน้นปัญหาสำคัญ จัดกลุ่มปัญหา/บูรณาการ แผนแก้ปัญหา แต่ละปัญหามีกลยุทธ์/งบประมาณชัดเจน มาตรการชัดเจน แผนปฏิบัติ งบประมาณตามกิจกรรม กิจกรรม
คุณลักษณะของแผน 3 ระดับ
การจัดทำแผนระดับอำเภอการจัดทำแผนระดับอำเภอ 11. ประเมินและวิเคราห์ปัญหา และผลการดำเนินงานที่ผ่านมา 2. บูรณาการเพื่อสร้างแผนแก้ไขปัญหา ... “แผนสุขภาพกลุ่มวัย” - บูรณาการกิจกรรมบริการที่ลงกลุ่มวัย - บูรณาการการบริหารจัดการ และงบประมาณ 3. จัดทำ “แผนปฏิบัติ” ของหน่วยบริการ - ต้องมี Project Manager รับผิดชอบดำเนินการ และติดตามประเมินผล 44. บริหารงบประมาณ - บริหารงบประมาณ PP basic service, งบสนับสนุนจากกองทุนตำบล, งบ PPA จังหวัด
PP Model งานส่งเสริมและป้องกันโรค แผนสุขภาพเขต / จังหวัด / อำเภอ การบริหารบประมาณแบบบูรณาการ กระบวนการนำแผนสู่การปฏิบัติ
Health Promotion & Prevention Basic Services Area Health National Programs กรอบงานส่งเสริมป้องกัน ตามลักษณะงาน
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 57 P&P Capitation ( 288.88 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 64.871 ล้านคน) คำนวณจาก 383.61 บาท/ปชก.UC 48.852 ล้านคน (1) NPP & Central procurement (23 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.50บ./คน) (3) P&P Basic Services (192 บ./คน) (2) P&P Area Health services (66.38 บ./คน) กองทุนฯท้องถิ่น (40+5 บ./คน) หักเงินเดือน Capitation +workload (162 บ./คน) Quality Performance (20 บ./คน) P&P Dental (10 บ./คน) จังหวัด/เขต (21.38 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) หน่วยบริการ/อปท.,/ หน่วยงานต่างๆ กรณี สปสช.เขต 13 (กรุงเทพมหานคร) ให้สามารถบูรณการการบริหารงบ (2) และ (3) เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ตามที่กำหนด เนื่องจากไม่มีสาขาจังหวัดและบริบทพื้นที่แตกต่าง
เขตบริการสุขภาพที่ 5 ปี 57 สปสช. กรม สป กรม PPNP บูรณาการ 5 Flagships สปสช.เขต MOU MOU (BS,NP) (NP) เขต สธ. PPD (5.2 ล้าน) งบ UC งบ สธ. แผนยุทธ กำกับติดตาม (80 ล้าน) PPA จังหวัด PPD (111 ล้าน) (26 ล้าน) แผนยุทธ กำกับติดตาม PPB อำเภอ (400 ล้าน)
แนวทางดำเนินงาน PP 57 1. อิงกรอบแนวทางร่วม สธ.-สปสช. (PP Model) 2. จาก KPI ยุทธศาสตร์ 44 ตัว (PP 11 ตัว) และ KPI เขต สู่การปฏิบัติที่บูรณาการโดยยึดประชากรกลุ่มวัยเป็นตัวตั้ง ส่วนกลางควรวาง “กรอบแผนงานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัย” 5 แผนหลัก ที่มีองค์ประกอบของงานครบถ้วน 3. พัฒนาพื้นฐานของระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 4. สร้างกลไกการตรวจราชการ และ M&E ผลการดำเนินงานของเขตบริการสุขภาพ
แผนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแผนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 11. อัตราส่วนมารดาตาย ไม่ >15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน สตรี เด็ก 0-5 ปี 2. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่า 85 3. ร้อยละของเด็ก นร.มีภาวะอ้วน ไม่เกิน 15 เด็กวัยเรียน 5-14 ปี 4. เด็กไทยมีความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ย ไม่น้อยกว่า 100 คนะแนน 5. อัตราคลอดในมารดาอายุ 15-19 ปีไม่เกิน 50 ต่อ ปชก.15-19 ปี 1000 คน เด็กวัยรุ่น 15-21 ปี 6. ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน ปชก.15-19 ปี ไม่เกิน 13 7. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 13 ต่อ ปชก. แสนคน วัยทำงาน 8. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ไม่เกิน 20 ต่อ ปชก. แสนคน 9. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ไม่เกิน 20 ต่อ ปชก. แสนคน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ 10. ผู้พิการทางการเคลื่อนไหวได้รับบริการครบถ้วน 100%ภายใน 3-5 ปี
วิเคราะห์ Demand แต่ละประเด็น แยกตามภาวะโรค/เจ็บป่วย ประเมินขีดความสามารถตอบสนองของหน่วยบริการ รวมทั้งจุดอ่อนของบริการ เป็นรายสาขา/ประเด็น การพัฒนาบริการปฐมภูมิทั้งมิติพื้นที่ (เมือง-ชนบท) มิติบริการ และมิติบุคลากร โดยมี รพช. เป็นแกนกลาง การพัฒนาบริการ กำหนดเป้าหมายระยะสั้น / ยาว รวมทั้งแผนลงทุน แผนคน ดำเนินงาน ติดตาม ประเมินผล
การพัฒนาระบบข้อมูล 1. ทบทวน / เรียบเรียง ชุดข้อมูล (Data set) ให้เป็นหมวดหมู่ เริ่มจากกำหนดรายการข้อมูลที่มีความจำเป็น 2. ปรับเปลี่ยน วิธีบันทึกข้อมูล ที่หน่วยบริการ จาก manual เป็น digital data โดยใช้โปรแกรมต่างๆ 3. กำหนดใช้ ข้อมูลประชากร DB pop เป็นฐานคิดเป้าหมาย 4. สนับสนุนให้ใช้โปรแกรม Data Management เป็นเครื่องมือของศูนย์ข้อมูลจังหวัด 5. ออกแบบการนำเสนอ ชุดข้อมูลสำเร็จรูป ใน website
การพัฒนาระบบบริหาร 11. การบริหารการเงินการคลังระดับเขต - การปรับเกลี่ยงบ UC ระหว่างหน่วยบริการ โดยเกลี่ยได้ 3% ฐาน งด. - การวิเคราะห์สถานภาพทางการเงินทุกหน่วยบริการ - การจัดทำ แผนฟื้นฟูประสิทธิภาพการบริหารการเงิน 2. การบริหารงานร่วมระดับเขต - การบริหารงบประมาณร่วม - การบริหารกำลังคนร่วม - การบริหารยา เวชภัณฑ์ และค่าบริการตรวจชันสูตรร่วม
การพัฒนาระบบบริหาร 33. การบริหารจัดการด้านกำลังคนระดับเขต - การจัดทำกรอบอัตรากำลัง การจัดทำแผนความต้องการ การบรรจุข้าราชการใหม่ การจ้าง พกส. การจ่ายค่าตอบแทน 4. รูปแบบการบริหาร CUP (CUP Management Model) - แผนพัฒนาสุขภาพอำเภอ เป็นแผนเดียว (Single District Plan) - การบริหารการเงินของ CUP เป็นหนึ่งหน่วย (Single Financial Unit) - การบริหารบริการปฐมภูมิเป็นหนึ่งเครือข่าย (Single Primary Care Network) 55. การกำกับ ติดตาม และประเมินผล - การติดตามประเมินผล
การบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพการบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพ คกก.เขตบริการสุขภาพ คกก. ยุทธศาสตร์ สนง. เขต ที่ปรึกษาด้านวิชาการ อนุฯ สสปก. อนุฯ ด้านบริการ อนุฯ ด้านบริหาร คทง.ข้อมูล สารสนเทศ การประสานภายใต้ ยุทธศาสตร์เขต คทง. ย่อยชุดต่างๆ
บทบาทของเขตที่ปรับเปลี่ยนบทบาทของเขตที่ปรับเปลี่ยน 1. บทบาท ผตร. ปรับไปสู่ “การบริหารยุทธศาสตร์” ที่มุ่งผลลัพท์เป็นสำคัญ โดยอาศัยสำนักงานเขต 2. สร้าง “กลไกบริหารจัดการทรัพยากร” ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น 3. ทบทวนและปรับเปลี่ยน “มาตรการ” แก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญของเขต 4. กำกับ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานของหน่วยงาน
บทบาทของจังหวัดที่ปรับเปลี่ยนบทบาทของจังหวัดที่ปรับเปลี่ยน 1. มองการดูแลสุขภาพ บูรณาการกิจกรรมเป็นกลุ่มวัยแทนที่จะมองเป็นกิจกรรมแยกตามฝ่าย/หน่วยงาน 2. จังหวัดมีหน้าที่ กำกับดูแลการดำเนินงาน ทั้งหน่วยงานในสังกัด ท้องถิ่น และภาคส่วนอื่นๆ 3. ตัวชี้วัด เป็นเพียงสะท้อนผลลัพท์ แต่ กระบวนการ เป็นตัวส่งให้เกิดผลลัพท์ ความชัดเจนของมาตรการดำเนินงานจึงเป็นสิ่งสำคัญ 4. แผนสุขภาพ แตกต่างจาก แผนยุทธศาสตร์ในอดีต