360 likes | 524 Views
การดำเนินโครงการที่ได้รับทุนสนับสนุนโดย กองทุนโลก ด้านวัณโรค รอบที่ 8 ของสำนักวัณโรค ในฐานะผู้รับทุนรอง. พญ. ศรีประพา เนตรนิยม รองผู้อำนวยการสำนักวัณโรค วันที่ 18-19 สิงหาคม 2552 ณ สำนักวัณโรค. ประเด็นสำคัญในการนำเสนอ. เป้าหมายและวัตถุประสงค์ พื้นที่ดำเนินงาน
E N D
การดำเนินโครงการที่ได้รับทุนสนับสนุนโดยกองทุนโลก ด้านวัณโรค รอบที่ 8ของสำนักวัณโรค ในฐานะผู้รับทุนรอง พญ. ศรีประพา เนตรนิยม รองผู้อำนวยการสำนักวัณโรค วันที่ 18-19 สิงหาคม 2552 ณ สำนักวัณโรค
ประเด็นสำคัญในการนำเสนอประเด็นสำคัญในการนำเสนอ • เป้าหมายและวัตถุประสงค์ • พื้นที่ดำเนินงาน • หน่วยงานและงบประมาณสนับสนุนของผู้รับทุนรายย่อยของสำนักวัณโรค • กิจกรรมหลักของโครงการ • แนวทางการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ • ตัวชี้วัดและเอกสารประกอบตัวชี้วัดโครงการ • การจัดทำรายงานตัวชี้วัดและการเงินรอบ 3 เดือน • ความก้าวหน้าการดำเนินงานของสำนักวัณโรค
เป้าหมายและวัตถุประสงค์(p 2)(ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของ สวร.) • เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย และอัตราตายของวัณโรค เพื่อบรรลุเป้าหมายแห่งการพัฒนาสหัสวรรษ ในปีพ.ศ. 2558 • Obj 1 เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามกลยุทธ์ DOTS อย่างมีคุณภาพ • Obj 2 การเร่งรัดงานวัณโรคและโรคเอดส์ วัณโรคดื้อยาหลายขนาน และความท้าทายอื่นๆ (เช่น ผู้ต้องขัง และ เด็ก เป็นต้น)
พื้นที่ดำเนินงาน TB/HIV (Gender sensitive issues for TB/HIV care) • ดำเนินงานโดยมหาวิทยาลัยมหิดล (AWP ของสำนักวัณโรค) ในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ ใน 5 จังหวัด ดังนี้ • ระยอง • นครปฐม • ขอนแก่น • ลำพูน • นครปฐม
พื้นที่ดำเนินงานการเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในผู้ที่ติดเชื้อเอช ไอ วี ร่วมด้วย • ดำเนินการโดยชมรมผู้ติดเชื้อ 15 แห่ง ดังต่อไปนี้ • ชมรมสิงห์อิสระ (รพ. สิงห์บุรี) • ชมรมด้วยกำลังใจ (รพ. อินทร์บุรี จ. สิงห์บุรี) • ชมรมความหวังพลังใจ (รพ. ฉะเชิงเทรา) • ชมรมวันพุธ (รพ. ราชบุรี) • ชมรมกลุ่มพลังรัก (รพ. ชัยภูมิ) • ชมรมนิวไลฟ์ (รพ. ขอนแก่น) • ชมรมสายใยครอบครัว (รพ. ยโสธร) • ชมรมเพื่อนช่วยเพื่อน (รพ. สุราษฎร์ธานี) • ชมรมศูนย์รวมใจ (รพ. สวรรค์ประชารักษ์ จ. นครสวรรค์) • ชมรมรักษ์สุขภาพ (รพ. เพชรบูรณ์) • ชมรมอุ่นไอรัก (รพ. เชียงของ จ. เชียงราย) • ชมรมภูเขาหญ้า (รพ. ระนอง) • ชมรมเพื่อนช่วยเพื่อน (รพ. กระบี่) • ชมรมใจประสานใจ (รพ. พัทลุง) • ชมรมตะวันรุ่ง (รพ. กันตัง จ. ตรัง)
พื้นที่ดำเนินงาน MDR-TB • จำนวน 3 แห่งในปีที่ 1-2 ดังนี้ • สำนักวัณโรค โดยกลุ่มสาธิตบริการเพื่อการศึกษาวิจัยวัณโรค • สถาบันบำราศนราดูร • ทัณฑ์สถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์
พื้นที่ดำเนินงานวัณโรคในเด็กพื้นที่ดำเนินงานวัณโรคในเด็ก • ดำเนินงานโดย คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (SSR สำนักวัณโรค) ใน 10 จังหวัด 25 รพ. ดังนี้ • 3.พะเยา • รพ. พะเยา • รพ. เชียงคำ • 4. ลำปาง • รพ. ศูนย์ลำปาง • รพ. เกาะคา • 5. น่าน • รพ. น่าน • รพ. สมเด็จ พระยุพราชปัว • 9. ตาก • รพ. ตาก • รพ. อุ้งผาง • รพ. แม่สอด • 10. อุตรดิตถ์ • รพ. อุตรดิตถ์ • 1.เชียงใหม่ • รพ. มหาราช นครเชียงใหม่ • รพ. นครพิงค์ • รพ. สันป่าตอง • รพ. ดอยสะเก็ด • รพ. สันทราย • รพ. ฝาง • รพ. สารภี • 2. ลำพูน • รพ. ลำพูน • 6. แม่ฮ่องสอน • รพ. ศรีสังวลาย์ • รพ. แม่สะเรียง • รพ. ปาย • 7. แพร่ • รพ. แพร่ • 8. เชียงราย • รพ. แม่จัน • รพ. แม่สาย • รพ. เชียงรายประชานุเคราะห์
พื้นที่ดำเนินงานวัณโรคในเรือนจำพื้นที่ดำเนินงานวัณโรคในเรือนจำ • โดยกรมราชทัณฑ์ และ NCCMP ใน 22 จังหวัด 41 แห่ง ดังนี้ • 2. นนทบุรี • เรือนจำกลางบางขวาง • เรือนจำจังหวัดนนทบุรี • 1. กรุงเทพมหานคร • เรือนจำพิเศษกรุงเทพฯ • เรือนจำพิเศษธนบุรี • เรือนจำพิเศษมีนบุรี • ทัณฑสถานหญิงกลาง • ทัณฑสถานบำบัดพิเศษกลาง • ทัณฑสถานหญิงธนบุรี • ทัณฑสถาน โรงพยาบาลราชทัณฑ์ • 3. ปทุมธานี • เรือนจำจังหวัดปทุมธานี • เรือนจำอำเภอธัญบุรี • ทัณฑสถานบำบัดพิเศษจ.ปทุมธานี • ทัณฑสถานบำบัดพิเศษหญิง • ทัณฑสถานวัยหนุ่มกลาง
พื้นที่ดำเนินงานวัณโรคในเรือนจำ (2) • 4. สมุทรปราการ • เรือนจำกลางสมุทรปราการ • 5. สมุทรสาคร • เรือนจำจังหวัดสมุทรสาคร • 6. พระนครศรีอยุธยา • เรือนจำกลางอยุธยา • เรือนจำจังหวัดอยุธยา • ทัณฑสถานวัยหนุ่มพระนครศรีอยุธยา • ทัณฑสถานบำบัดพิเศษพระนครศรีอยุธยา • 7. ระยอง • เรือนจำกลางระยอง • 8. นครราชสีมา • เรือนจำกลางคลองไผ่ • 9. อุบลราชธานี • เรือนจำกลางอุบลราชธานี • 10. ขอนแก่น • เรือนจำกลางขอนแก่น • ทัณฑสถานบำบัดพิเศษขอนแก่น • 11.เชียงราย • เรือนจำกลางเชียงราย • 12. เชียงใหม่ • เรือนจำกลางเชียงใหม่
พื้นที่ดำเนินงานวัณโรคในเรือนจำ (3) • 13. ลำปาง • เรือนจำกลางลำปาง • ทัณฑสถาน บำบัดพิเศษลำปาง • 14. กำแพงเพชร • เรือนจำกลางกำแพงเพชร • 15. นครสวรรค์ • เรือนจำกลางนครสวรรค์ • 16. นครปฐม • เรือนจำกลางนครปฐม • 17. นครศรีธรรมราช • เรือนจำกลางนครศรีฯ • เรือนจำอำเภอทุ่งสง • 18. สุราษฎร์ธานี • เรือนจำกลางสุราษฎร์ธานี • เรือนจำอำเภอไชยา • 19.ราชบุรี • เรือนจำกลางราชบุรี • 20. ภูเก็ต • เรือนจำจังหวัดภูเก็ต • 21. พังงา • เรือนจำจังหวัดพังงา • เรือนจำอำเภอตะกั่วป่า • 22. กระบี่ • เรือนจำจังหวัดกระบี่
พื้นที่ดำเนินงานในกรุงเทพมหานครพื้นที่ดำเนินงานในกรุงเทพมหานคร • ดำเนินงานโดย สำนักอนามัย กองโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ใน 14 เขต 14 รพ. • รพ. สิรินธร • รพ. กลาง • รพ. ตากสิน • รพ. เจริญกรุง • รพ. หนองจอก • รพ. ลาดกระบัง • รพ. สมเด็จพระปิ่นเกล้า • รพ. หลวงพ่อทวีศักดิ์ • รพ. ราชพิพัฒน์ • รพ. นพรัตน์ราชธานี • รพ. ราชวิถี • รพ. เลิดสิน • วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานคร และวชิรพยาบาล
หน่วยงานและงบประมาณผู้รับทุนรายย่อยของสำนักวัณโรคหน่วยงานและงบประมาณผู้รับทุนรายย่อยของสำนักวัณโรค PGA • สำนักงานป้องกันควบคุมโรค 1-12 27.5 ล้าน • กรมราชทัณฑ์ 4.4 ล้าน • NCCMP (TB in prison) 4 ล้าน • คณะแพทยศาสตร์ มช. (Childhood) 3.3 ล้าน • ชมรมผู้ติดเชื้อ (TB/HIV) 1.4 ล้าน • สถาบันบำราศฯ (MDR-TB) 1.4 ล้าน • สำนักอนามัย (Q-DOTS & TB/HIV) 2.4 ล้าน • ม. มหิดล (Gender) 8 แสน • สมาคมปราบฯ ชม. (Q-DOTS)2 แสน หมายเหตุ งปม. ของสคร. และ กทม. ยังไม่รวมค่ายาสำหรับผู้ป่วยไร้สิทธิ ค่าอาหาร ค่ารถของผู้ป่วย ค่าเยี่ยมบ้านของสอ ค่าอบรมอสม ค่าประชุมทีมชุมชน ซึ่งบริหารจัดการโดยกรม สบส. APW
Interventions • A report of a NTP review in July 2007 • The WHO matrix tool
กิจกรรม Quality DOTS(ครอบคลุม 91 อำเภอ 73 จังหวัด)
กิจกรรมของ TB/HIV (p24)(ครอบคลุม 91 อำเภอ 73 จังหวัด)
กิจกรรมของ MDR-TB (p26)(ครอบคลุม 3 หน่วยงาน)
กิจกรรมของวัณโรคในเด็ก (p28)(ครอบคลุม 25 รพ. ใน 10 จังหวัด)
แผนปฏิบัติงาน (work plan) • ระบุเฉพาะกิจกรรมที่มีค่าใช้จ่าย • ควรมีการพัฒนาแผนปฏิบัติงานแยกตามหัวข้อการดำเนินงานซึ่งเป็นกิจกรรมที่ไม่มีงปม. (Q-DOTSระบบเตือนจนท.เมื่อผู้ป่วยผิดนัดรพ.; TB/HIVการประสาน AIDS RCC R1 grant ในเรื่อง ART; MDR การจัดทำ case conference; Childhoodการประชาสัมพันธ์ประโยชน์ของการนำผู้สัมผัสมาตรวจ; Prisons การแจ้งขอความร่วมมือสสจ.ในการประสานระหว่าง NGO กับ สอ. หรือ ทำเนียบเครือข่าย; M/Eขั้นตอนการตรวจสอบความครบถ้วนของทะเบียนวัณโรค ณ โรงพยาบาล
แนวทางการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆแนวทางการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ • สวร. (SR) ทำสัญญาดำเนินงานโครงการ (PGA) กับสคร. (SSR) /หน่วยงานที่ทำดำเนินงานภายใต้การทำบันทึกความร่วมมือโครงการ (APW)=> สคร ทำบันทึกความร่วมมือโครงการ (APW) กับสสจ • สสจ ประสานกับหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ ( เช่น รพ., สสอ., สอ., เรือนจำ, NGOs, ชมรมผู้ติดเชื้อฯ และ อสม. เป็นต้น) • บทบาทของแต่ละหน่วยงาน ตามเอกสารคู่มือดำเนินโครงการ หน้า 3-6
ตัวชี้วัด(Performance Framework: PF) • Impact indicator (TB Prevalence) • Outcome indicators (case detection & Rx success rates in new M+)
ตัวชี้วัด(Performance Framework: PF) (2) • 9 SDA Main indicators for BTB • 8 SDA SSRindicators
ตัวชี้วัดหลักโครงการ 9 ตัว
ตัวชี้วัดหลักโครงการ 9 ตัว (2)
ตัวชี้วัดหลักโครงการ 9 ตัว (3)
ตัวชี้วัดโครงการ ระดับ SSR8 ตัว
แนวทางการจัดส่งรายงานตัวชี้วัดแนวทางการจัดส่งรายงานตัวชี้วัด
การจัดทำรายงานด้านบริหารโครงการทุก 3 เดือนของ SSR (p77) • สวร. จัดอบรมการทำรายงานแก่ Full-time ทุก SSR • สวร.ประสานขอ PR เรื่องคู่มือการจัดทำรายงาน • เน้นการรายงานด้านการเงิน, PF, narrative ของการดำเนินกิจกรรม • จัดส่งเอกสารประกอบการใช้เงินส่งให้สำนักวัณโรคภายใน 10 วันหลังสิ้นรอบ • ตัวชี้วัดของโครงการส่งภายใน 3 สัปดาห์ (เนื่องจากสวร.ได้สำเนาจากสสจ.เมื่อสิ้น 2 สัปดาห์แล้ว)
การจัดทำรายงานด้านบริหารโครงการทุก 3 เดือนของ APW (p89) • หน่วยงานที่จัดทำบันทึกความร่วมมือ เช่น สสจ. ม.มหิดล สมาคมปราบวัณโรคเชียงใหม่ สำนักอนามัย ชมรมผู้ติดเชื้อ สถาบันบำราศนราดูร • จัดทำรายงานพื้นฐานเท่านั้น เนื่องจากคู่สัญญาระดับสูงขึ้นไปเป็นหน่วยงานรับรองการปฏิบัติงานของ APW • ไม่ต้องส่งหลักฐานการเบิก-จ่ายให้สวร. แต่ให้เก็บไว้ที่ต้นสังกัดเพื่อการตรวจสอบของทางราชการ • ส่งเฉพาะ “ใบส่งใบสำคัญชำระหนี้” เป็นหลักฐานการเบิก-จ่ายเท่านั้น
คำแนะนำการจัดทำสัญญา1 (p91) • ผู้รับทุนรายย่อย/APW เปิด 2 บัญชี ธนาคารกรุงไทย (บัญชีกระแสรายวัน และบัญชีออมทรัพย์) ในนามนิติบุคคล • ผู้รับทุนรายย่อยส่งสำเนาหน้าบัญชีออมทรัพย์ให้สำนักวัณโรค • สำนักวัณโรค โอนเงินเป็นงวด งวดละ อย่างน้อย 3 เดือน ตามที่ได้รับจัดสรรจากกองทุนโลก ตามอัตราแลกเปลี่ยน USD • เมื่อผู้รับทุนรายย่อยได้รับเงินโอนสนับสนุนจากสำนักวัณโรคแล้ว กรุณาตอบรับ พร้อมส่งใบเสร็จรับเงินตามระเบียบของทางราชการเพื่อเป็นหลักฐานในการรับเงิน ภายใน 15 วัน หลังจากโอนเงิน โดยระบุว่าได้รับเงินจากโครงการ “การสร้างความเข้มแข็งของระบบสาธารณสุขเพื่อการควบคุมวัณโรค”
คำแนะนำการจัดทำสัญญา2 (p91) • การปรับงบประมาณของโครงการ หากเกิน 10 % ของหมวดกิจกรรมเดียวกัน ต้องได้รับอนุมัติจากสำนักวัณโรคก่อนเท่านั้น • กรณีที่ปรับงบประมาณไม่เกิน 10 % ภายในหมวดกิจกรรม อยู่ในอำนาจของผู้รับทุนรายย่อย (SSR) สามารถกระทำได้โดยไม่ต้องขออนุมัติจากสำนักวัณโรค แต่ขอให้ส่งสำเนาการอนุมัติให้ สวร. ทุกครั้งที่มีการปรับงบประมาณดังกล่าว
คำแนะนำการจัดทำสัญญา3 (p91) • จัดทำหนังสือยินดีเข้าร่วมโครงการ ระหว่าง สคร. กับ สสจ. และส่งสำเนาให้สำนักวัณโรค 1 ฉบับ • รวบรวมหนังสือยินดีเข้าร่วมโครงการ ระหว่าง ก) สสจ. กับ สสอ. และ ข) สสจ. กับ โรงพยาบาล โดยส่งสำเนาให้สำนักวัณโรคอย่างละ 1 ฉบับ • ผู้รับทุนรายย่อยจัดส่งสัญญาโครงการมายังสำนักวัณโรคเพื่อการลงนาม (หนังสือ สำนักวัณโรคเลขที่ สธ 0440.8/3/ว.1455 ลงวันที่ 24 กรกฎาคม 2552)
ความก้าวหน้าการดำเนินงานของ สวร. เดือน กรกฎาคม 2552 • จัดพิมพ์คู่มือการดำเนินงาน (ฉบับร่าง) และขอข้อเสนอแนะและข้อแก้ไขปรับปรุงก่อนการจัดพิมพ์ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • จัดประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการ และวางแผนการดำเนินงานวัณโรคในเด็ก วัณโรคในเรือนจำ การค้นหาการป่วยเป็นวัณโรคในชมรมผู้ติดเชื้อ และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB) ร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง • ชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมโครงการ ให้แก่ผู้บริหารและผู้รับผิดชอบงานวัณโรคระดับเขต (สคร 1-12) ในวันที่ 22 ก.ค. 52 • ประชุมวางแผนการดำเนิงานวัณโรคในชุมชน ร่วมกับมูลนิธิรักษ์ไทย วันที่ 24 ก.ค. 52 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพภาคประชาชน ในวันที่ 6 ส.ค. 52 และกองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำนักอนามัย วันที่ 17 ส.ค. 52
ความก้าวหน้าการดำเนินงานของ สวร. เดือน กรกฎาคม 2552 (2) • จัดทำสัญญาโครงการของผู้รับทุนรายย่อย (PGA) และบันทึกความร่วมมือดำเนินงานโครงการ (APW) ให้กับ 96 หน่วยงาน • จัดทำรายละเอียดเอกสารประกอบการเบิกจ่ายในแต่ละกิจกรรม • จัดทำเอกสารประกอบตัวชี้วัดที่นอกเหนือจากแบบรายงานวัณโรคปกติ (เช่น การจัดส่งรายงานตามเวลาที่กำหนด และวัณโรคในเด็ก) • จัดส่งหนังสือถึงหน่วยงานผู้รับทุนรายย่อยของสำนักวัณโรคแจ้งให้จัดส่งสัญญาเพื่อการลงนามสนับสนุนงบประมาณโครงการ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2552 (หนังสือ สวร. 0440.8/3/ว.1455 และ 0440.8/3/ว 918)