1 / 29

สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้าปี 2556 (1 ม.ค.– 10 ก.ย. 2556)

สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้าปี 2556 (1 ม.ค.– 10 ก.ย. 2556). โดย นายสัตวแพทย์วิริยะ แก้วทอง ผู้อำนวยการสำนักควบคุม ป้องกันและบำบัดโรคสัตว์. แนวโน้มการตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าระหว่างปี 2552 -2556. 2552. 2553. 2554. 2555. 2556. แนวโน้มการตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าระหว่างปี 2552 -2556.

Download Presentation

สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้าปี 2556 (1 ม.ค.– 10 ก.ย. 2556)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้าปี2556(1 ม.ค.– 10 ก.ย. 2556) โดย นายสัตวแพทย์วิริยะ แก้วทอง ผู้อำนวยการสำนักควบคุม ป้องกันและบำบัดโรคสัตว์

  2. แนวโน้มการตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าระหว่างปี 2552 -2556 2552 2553 2554 2555 2556

  3. แนวโน้มการตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าระหว่างปี 2552 -2556 รายงานการตรวจพบโรคพิษสุนัขบ้า ร้อยละ *อัตราอุบัติการณ์ =จำนวนสัตว์ป่วยใหม่ในแต่ละปี x k ประชากรทั้งหมดที่เสี่ยงต่อการเป็นโรค k = 1,000,000 ตัว ประชากรสุนัขแมวโดยเฉลี่ยแต่ละปี = 10,000,000 ตัว คำนวณ *อัตราอุบัติการณ์ปี 2552 =342 x 1,000,000 10,000,000 = 34.2 (นั่นคือ พบผลบวก 34.2 ตัว ต่อประชากร 1,000,000 ตัว)

  4. สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า ปี 2556 จำนวนการพบเชื้อ (รายชนิดสัตว์) ส่งตรวจ 2,595 ตัว พบเชื้อ 48 ตัว ผลลบ 2,547 ตัว ร้อยละพบเชื้อ 1.85

  5. การตรวจพบเชื้อในสัตว์ปี 2556 พบโรคในสัตว์ 48 ตัว/15 จังหวัด 1. กรุงเทพฯ 11 ตัว 2. สงขลา 7 ตัว 3. สมุทรปราการ 5 ตัว 4. ปราจีนบุรี 4 ตัว 5. ฉะเชิงเทรา 4 ตัว 6. อุบลราชธานี 3 ตัว 7. ศรีสะเกษ 3 ตัว 8. ชลบุรี 2 ตัว 9. นนทบุรี 2 ตัว 10. น่าน 2 ตัว 11. จันทบุรี 1 ตัว 12. ตรัง 1 ตัว 13. สระแก้ว 1 ตัว 14. สุรินทร์ 1 ตัว 15. อำนาจเจริญ 1 ตัว

  6. การตรวจพบเชื้อในคนปี 2556 พบผู้ป่วย-เสียชีวิต 4 รายใน 3 จังหวัด 1. ปราจีนบุรี 2 ราย 2. ศรีสะเกษ 1 ราย 3. สระแก้ว

  7. จุดเกิดโรคในคนและสัตว์ แบ่งตามโซนปศุสัตว์ (ใหม่)

  8. โครงการวางแผนครอบครัวสุนัขแมว เพื่อแก้ไขปัญหาสุนัขแมวจรจัดอย่างยั่งยืน

  9. เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2557-2558 สุนัขแมวจรจัด ผ่าตัดทำหมันและฉีดยาคุมกำเนิด จำนวน1,000,000 ตัว ผ่าตัดทำหมัน ไม่น้อยกว่า 3,000 ตัว/ปี/จังหวัด ฉีดยาคุมกำเนิด ไม่น้อยกว่า 5,000 ตัว/ปี/จังหวัด

  10. แนวทางการดำเนินโครงการฯแนวทางการดำเนินโครงการฯ • ให้สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ดำเนินการให้บริการผ่าตัดทำหมันและฉีดยาคุมกำเนิดฟรี ดังนี้ 1.1 เปิดบริการ ณ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด และ หรือสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 วัน 1.2 ออกหน่วยบริการ ตาม วัด โรงเรียน ชุมชน ตลาด สถานที่ราชการ (อบต.) แหล่งท่องเที่ยว อย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง 1.3 ออกหน่วยบริการ ร่วมกับหน่วยงานอื่น ของจังหวัด เช่น จังหวัดเคลื่อนที่ อำเภอเคลื่อนที่ คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ หรือ ตามที่จังหวัดกำหนด 1.4 ประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขอให้สนับสนุนด้านวัสดุในการผ่าตัดทำหมันและยาคุมกำเนิด ในช่วงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าประจำปี

  11. แนวทางการดำเนินโครงการฯ (ต่อ) 2. ให้สำนักงานปศุสัตว์เขต วางแผนและกำหนดจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ ออกหน่วยให้บริการผ่าตัดทำหมัน และฉีดยาคุมกำเนิดฟรี อย่างน้อย เดือนละ 2 จังหวัด โดยระดมบุคลากรเขตและจังหวัดในพื้นที่ร่วมปฏิบัติงาน โดยเน้นพื้นที่เป้าหมายในการปฏิบัติงาน ได้แก่ วัด โรงเรียน สถานที่ราชการ ชุมชน ตลาด แหล่งท่องเที่ยว และพื้นที่ที่มีความชุกของการเกิดโรค

  12. แนวทางการดำเนินโครงการฯ (ต่อ) 3. สำนักควบคุม ป้องกันและบำบัดโรคสัตว์ วางแผนและกำหนดจังหวัดตามกลุ่มจังหวัดของมหาดไทย พร้อมสนับสนุนบุคลากร (นายสัตวแพทย์) ร่วมปฏิบัติงาน

  13. แผนการปฏิบัติงานโครงการวางแผนครอบครัวสุนัขแมวแผนการปฏิบัติงานโครงการวางแผนครอบครัวสุนัขแมว ปีงบประมาณ 2557

  14. แผนการปฏิบัติงานโครงการวางแผนครอบครัวสุนัขแมวแผนการปฏิบัติงานโครงการวางแผนครอบครัวสุนัขแมว ปีงบประมาณ 2558

  15. แผนการปฏิบัติงานโครงการวางแผนครอบครัวสุนัขแมวแผนการปฏิบัติงานโครงการวางแผนครอบครัวสุนัขแมว

  16. มาตรการป้องกัน ควบคุมโรคระบาด ในสัตว์ปีก

  17. มาตรการป้องกัน ควบคุมโรคระบาดในสัตว์ปีก 1. ดำเนินการตามมาตรการที่กรมปศุสัตว์กำหนด 2. ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการไม่เป็นโรคไข้หวัดนก และตรวจพบเชื้อโรคอื่น ให้ทำวัคซีนป้องกันโรคสัตว์ปีก ในรัศมี 3 กม. รอบจุดเกิดโรค พร้อมกระตุ้นซ้ำ 2 สัปดาห์ หรือตามดุลยพินิจของสัตวแพทย์ 3. ให้รายงานผลการเฝ้าระวังโรคสัตว์ปีกป่วยตายประจำวัน ทุกวัน - ถ้าไม่พบสัตว์ปีกป่วยตายให้รายงาน Zero Report ในระบบ ทุกวัน -ให้ สนง.ปศจ. เข้าตรวจสอบในพื้นที่ที่มีสัตว์ปีกป่วยตายผิดปกติ และตรวจสอบการปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ในพื้นที่

  18. การเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้หวัดนกการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้หวัดนก 1.1 การดำเนินการเมื่อผลการตรวจยืนยันว่าเป็นโรคไข้วัดนกในสัตว์ปีก 1.2 การดำเนินการเมื่อผลการตรวจยืนยันว่าเป็นโรคไข้วัดนกในคน

  19. 1.1การดำเนินการเมื่อผลการตรวจยืนยันว่าเป็นโรคไข้วัดนกในสัตว์ปีก1.1การดำเนินการเมื่อผลการตรวจยืนยันว่าเป็นโรคไข้วัดนกในสัตว์ปีก

  20. 1.2การดำเนินการเมื่อผลการตรวจยืนยันว่าเป็นโรคไข้วัดนกในคน1.2การดำเนินการเมื่อผลการตรวจยืนยันว่าเป็นโรคไข้วัดนกในคน

  21. โครงการปศุสัตว์ตำบล

  22. โครงการปศุสัตว์ตำบล หนังสือด่วนที่สุดที่ กษ 0610.02/ว2919 ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2556 เรื่อง การดำเนินงานโครงการจ้างเหมาบริการงานตรวจป้องกันโรคสัตว์ในตำบล (ปศุสัตว์ตำบล)

  23. 1. ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2556- 30 สิงหาคม 2556 หาก อปท. ใด มีหลักฐานการจ้าง ปศต. แทนกรมปศุสัตว์

  24. 2. และหรือหน่วยงานกรมปศุสัตว์ในพื้นที่สามารถผลักดันให้ อปท. บรรจุในข้อบัญญัติงบประมาณ ประจำปี 2557 เพื่อจ้างในลักษณะงานของปศุสัตว์ตำบลแทนกรมปศุสัตว์

  25. 3. จังหวัดสามารถดำเนินการตามหนังสือที่ กษ 0610/ว 669 ลงวันที่ 10 มกราคม 2556 (อปท.จ้าง 1 : กรม โอนให้จ้าง 1)

  26. 4. ให้จังหวัดส่งสำเนาหลักฐานการจ้างและเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้ สำนักงานปศุสัตว์เขตพิจารณาตรวจสอบยืนยันความถูกต้องเพิ่มเติม แล้วสรุปใส่ตารางตามตัวอย่าง รวบรวมส่ง สคบ. ทาง e-mail :spoc@dld.go.th ภายในวันศุกร์ที่ 30 สิงหาคม 2556 เวลา 16.30 น.

  27. ตารางสรุป: จำนวนปศุสัตว์ตำบลที่กรมปศุสัตว์โอนให้จังหวัดจ้าง ปีงบประมาณ 2556-2557 (1 ตุลาคม 2555-30 กันยายน 2557)

  28. เป้าหมายปศุสัตว์ตำบล งบประมาณปี 2557 • กิจกรรมไข้หวัดนก (เขต 1,3,4,5,6,7) จำนวน 1,410 อัตรา • กิจกรรมส่งออก เขต 2 จำนวน194 อัตรา • กิจกรรมเฝ้าระวังฯ เขต 8,9 จำนวน197อัตรา รวมจำนวน1,801อัตรา (จาก 2,073 อัตรา ปรับลดไป 272 อัตรา คิดเป็น 13.12%)

More Related