100 likes | 331 Views
ภาพรวมการผลิตไก่เนื้อในประเทศ ปีการผลิต 2556. คาดการณ์การผลิตไก่เนื้อทั้งประเทศ ปีการผลิต 2556 จำนวน 1,104,050,699 ตัวๆ ละประมาณ 1.8-2.3 กิโลกรัม 1. ผู้ประกอบการ เลี้ยงไก่เนื้อ จ. เพชรบูรณ์ จำนวน 15,709,691 ตัว( 1.42 % )
E N D
ภาพรวมการผลิตไก่เนื้อในประเทศ ปีการผลิต 2556 คาดการณ์การผลิตไก่เนื้อทั้งประเทศ ปีการผลิต 2556 จำนวน 1,104,050,699 ตัวๆ ละประมาณ 1.8-2.3 กิโลกรัม 1. ผู้ประกอบการเลี้ยงไก่เนื้อ จ. เพชรบูรณ์ จำนวน 15,709,691 ตัว(1.42 %) 2. ผู้ประกอบการเลี้ยงไก่เนื้อ จ. ลพบุรี จำนวน 48 ,614,789 ตัว(4.40 %) ผู้ประกอบการเลี้ยงไก่เนื้อ จ. ชลบุรี จำนวน 282,729,560 ตัว(25.62 %) ผู้ประกอบการเลี้ยงไก่เนื้อ จ. ปราจีนบุรี จำนวน 82,370,978 ตัว(7.47 %) 5. ผู้ประกอบการเลี้ยงไก่เนื้อ จ. ฉะเชิงเทรา จำนวน 96,946,549 ตัว(8.78%) ข้อมูลจากสำนักเศรษฐกิจการเกษตร
ภาพรวมการทำธุรกิจรวบรวมของสกต.และธุรกิจไก่เนื้อของบริษัท สหฟาร์ม จำกัด เกษตรกรผู้ผลิตทั้งประเทศ 286,189 ราย (100%) เป็นลูกค้า ธ.ก.ส. ประมาณ 109,194 ราย (38%) สกต.รวบรวมผลผลิตปี 2555 264,898 ตัน (2,600 ลบ.) คิดเป็น5.29 %ของผลผลิตทั้งประเทศ สินเชื่อเพื่อการผลิตข้าวโพดทั้งประเทศ 31,160 ล้านบาท (100%) สินเชื่อเพื่อการผลิตข้าวโพดทั้งประเทศของ ธ.ก.ส. 16,209ล้านบาท( 51.20%) สนจ. เลย. 712 ล้านบาท สนจ. เพชรบูรณ์ 947 ล้านบาท สนจ. ลพบุรี 166 ล้านบาท เกษตรกร เลย/เพชรบูรณ์ สินเชื่อเพื่อการผลิตไก่เนื้อทั้งประเทศ ล้านบาท สนจ. เพชรบูรณ์ 4.690 ล้านบาท สนจ. ลพบุรี 1.020 ล้านบาท สกต.เลย 22,964 ตัน 183 ลบ. 673 ราย สกต.เพชรบูรณ์ 2,700 ตัน 17.12 ล้านบาท 75 ราย ผลิตส่งให้รายอื่น 35 % 140 ราย Contract Farming 400 ราย / 38.4 ล้านตัว/ปี ทุนการผลิต 209 ลบ./คราว 350,000 ตัว/วัน ลดลง50% 85,000 ตัน มูลหนี้ค้าง 59.6 ลบ. มูลหนี้ค้าง 4.8 ลบ. ส่งออก 50,000 ลบ. ชะลอการผลิต 65% (260 ราย) โรงงานชำแหละไก่ และแปรรูป (สหฟาร์ม) โรงงานรับซื้อผลิตอาหารสัตว์ (สหฟาร์ม) บริโภค ในประเทศ โรงงานเลี้ยงไก่ (ใหญ่) ลดกำลังการผลิต 50 % คงเหลือโดยประมาณ 107 ล้านตัว/ปี โรงงานเลี้ยงไก่(ใหญ่) กำลังการผลิต 214 ล้านตัว/ปี ทุนการผลิต 1,163 ลบ./คราว บ. สหอินเตอร์ ฟูดส์ บ. สหฟาร์ม กทม. 25,000 ตัน 1 โรงงานนารายณ์อาหารสัตว์ จ .ลพบุรี 540,000 ตัน (45% ) มูลค่า 4,860 ลบ.(9,000 /ตัน) 2. บ. โกลเด้นไลน์ บิสซิเนส จำกัด เพชรบูรณ์ 660,000 ตัน ( 55% ) มูลค่า 5,940 ลบ(9,000 /ตัน) โรงงาน จ.ลพบุรี จ.นครนายก จ.ชลบุรี จ. เพชรบูรณ์(บางส่วน)
ข้อมูลด้านการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปีการผลิต 2556 พื้นที่การผลิตทั้งประเทศ 7.154 ล้านไร่ ผลผลิตรวมทั้งประเทศ 4.985 ล้านตัน ปริมาณความต้องการใช้ 4.740 ล้านตัน ผลผลิตเฉลี่ยรวมทั้งประเทศ 697 ก.ก./ไร่ ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 6.35 บ./ก.ก. (4,425บ./ไร่) สินเชื่อการผลิตทั้งประเทศ 31,660 ลบ. (100 %) สินเชื่อเพื่อการผลิต ธ.ก.ส. 16,209 ลบ. ( 51.20%) เกษตรกรผลิตทั้งประเทศ 286,189 ราย( 100 %) เกษตรกรลูกค้า ธ.ก.ส. 109,194 ราย (38 %)
ผลกระทบต่อลูกเล้า Contract Farming ของ สหฟาร์ม ทำการผลิตไก่เนื้อส่งให้ผู้ใช้รายอื่น เช่น ซันฟูตส์ คาร์กิลล์เบทาโกร และผู้ค้าท้องถิ่น 35 % 140 ราย (รายละประมาณ 12,000 ตัว/รอบ / ลดกำลังการผลิตลง) ผลผลิตไก่ประมาณ 10 ล้านตัว ต้นทุนการผลิต 329 ล้านบาท สถานการณ์ปกติ Contract Farming 400 ราย / 38.4 ล้านตัว/ปี ทุนการผลิต 209 ลบ./รอบ ชะลอการผลิต 65% (260 ราย) เนื่องจากบริษัทไม่ส่งลูกไก่/อาหารไก่/ค้างชำระ กำลังการผลิตหายไปประมาณ 19 ล้านตัว (คิดเป็นมูลค่า 855 ล้านบาท คำนวณจาก ไก่เนื้อน้ำหนัก 2 ก.ก. ราคาจำหน่าย (หน้าฟาร์ม สหฟาร์ม ก.ก.ละ 45 บาท ต้นทุนการผลิต 32.60 บาท ข้อมูลจากการสอบถาม บ. สหฟาร์ม
ผลกระทบการผลิตไก่เนื้อของ บริษัท สหฟาร์ม สถานการณ์ปกติ สถานการณ์ปัจจุบัน โรงงานเลี้ยงไก่ (ใหญ่) ลดกำลังการผลิต 50 % คงเหลือโดยประมาณ 107 ล้านตัว/ปี โรงงานเลี้ยงไก่ (ใหญ่) กำลังการผลิต 214 ล้านตัว/ปี ทุนการผลิต 1,163 ลบ./คราว โรงงาน จ.ลพบุรี จ.นครนายก จ.ชลบุรี จ. เพชรบูรณ์(บางส่วน) ข้อมูลจากการสอบถาม บ. สหฟาร์ม
ลูกเล้า( CONTRACT FARMING ) ของ บ. สหฟาร์ม จำนวน 400รายทั่วประเทศ ลูกเล้าต้องลงทุนในการสร้างโรงเรือน+ ค่าแรงงาน ลูกเล้าต้องทำสัญญากับบริษัท(วางเงินประกัน )และมีภาระผูกพัน ในการขายผลผลิต 4 กำลังการผลิต 12,000 – 16,000 ตัว/คราว (รายย่อย) ระยะเวลาในการเลี้ยงต่อคราว 40-45 วัน เลี้ยงไก่ 1 คราว ต้องพักเล้าอย่างน้อย18-20 วัน 1ปี สามารถผลิตไก่เนื้อได้ 6คราว ผลผลิตไก่ใน1ปี (6รอบ) 38.4 ล้านตัว (88.32ล้าน ก.ก./ปี 9 ไก่ 1 ตัวมีน้ำหนักเฉลี่ย 2.0-2.3กิโลกรัม
ต้นทุนการผลิตไก่ของลูกเล้า( CONTRACT FARMING ) ของ บ. สหฟาร์ม ต้นทุนการผลิตไก่ ของเกษตรกรรายย่อย (กำลังการผลิต 16,000 ตัว) ประมาณ 1,200,000 บาท /คราว หรือ 32.60 บาท/กิโลกรัม ประกอบด้วย 1 ค่าลูกไก่ 8 บาท/ตัว (128,000 บาท) ค่าอาหารไก่ (0-10 วัน) 20.41 บาท/ตัว (326,560 บาท) ค่าอาหารไก่ (11-25 วัน ) 23.22 บาท/ตัว (371,520 บาท) ค่าอาหารไก่ (26-45 สัปดาห์ ) 19.14 บาท/ตัว (306,240 บาท) ค่าแรงงาน1.50 บาท/ตัว (24,000 บาท) ค่าโรงเรือน/อุปกรณ์ 1.08 บาท/ตัว (17,280 บาท) ค่าน้ำ/ไฟฟ้า 0.58 บาท/ตัว (9,280 บาท 8 ค่าเสียโอกาสทางการเงิน 0.90 บาท (14,400 บาท)
รายชื่อเกษตรกรผลิตไก่เนื้อลูกเล้า ( CONTRACT FARMING )ของ บ. สหฟาร์ม รายชื่อเกษตรลูกค้า ธ.ก.ส. จ.เพชรบูรณ์ ที่เป็นลูกเล้าของ สหฟาร์ม และบริษัทค้างชำระประมาณ 1.35 ลบ. (รายย่อย กำลังการผลิตประมาณ 12,000 – 16,000 ตัว/คราว) 1 นายอำนาจ คำจันทร์ 081-8875809 (ค้าง 200,000 บาท) 2 นายประเสริฐ ภาศรีชัย 088-8146165 (ค้าง 647,784 บาท) 3 นายสวัสดิ์ แก้วจันทร์ 089-5672461 (ค้าง 430,000 บาท) 4 นางวิลัย ปานจิตพิพัฒน์ 089-9572662 (ค้าง 70,000 บาท) รายชื่อเกษตรลูกค้า ธ.ก.ส. จ.ลพบุรี ที่เป็นลูกเล้าของ สหฟาร์ม และบริษัทค้างชำระ ประมาณ 1.2 ลบ. (รายย่อย กำลังการผลิตประมาณ 12,000 – 16,000 ตัว/คราว) 1 นางสุนีย์ ลือคารา 084-7755116 (ค้าง 400,000 บาท) 2 นายวิชาญ จ่ามั่น 089-4938283 ส่งให้ บ.ซันฟูดส์ แทน 3 นายธนวัฒน์ สะดวกดี 085-1745817 (ค้าง800,000บาท) 4 นายทรงยศ จันทร์ศิริ081-9915546 ส่งให้บ.คาล์กิลล์ ประเทศไทย แทน 5 นางบุญช่วย สรรพสิทธิ์ 089-0854978 ส่งให้บ.ซันฟูดส์ แทน
มาตรการจัดการผลผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จ.เลย/เพชรบูรณ์ ปี 2556 ด้านการจัดการในระดับเกษตรกร ต้องพัฒนาคุณภาพผลผลิตในระดับเกษตรกรโดยเฉพาะการเก็บเกี่ยวเมื่อครบอายุ ลดความชื้นโดยการตาก การสีฝักแห้งเพื่อลดเมล็ดแตก คัดแยกฝักเสียเป็นเชื้อราก่อนการสี และการเป่าสิ่งเจือปน (การอบรมให้ความรู้ ศึกษาดูงาน) ด้านการจัดการในระดับสถาบันการเกษตร (สกต) ต้องส่งเสริมการลงทุนในเครื่องมือเพื่อพัฒนาคุณภาพผลผลิตเช่นการตาก อบลดความชื้นเพื่อให้ผลผลิตเป็นไปตามที่ตลาดต้องการ (เกรดโรงงานอาหารสัตว์ เบอร์ 2 ) (เงินกู้เพื่อการลงทุน) บริหารจัดการในระบบเครือข่าย ในการปรับปรุงคุณภาพผลผลิต (ค่าตอบแทนในลักษณะจูงใจ) สนับสนุนการส่งเสริมการตลาดได้แก่ จูงใจเป้าหมายการรวบรวม สนับสนุนการลดต้นทุนเช่นการสนับสนุนค่าขนส่ง (ค่าตอบแทน สกต.)