1 / 34

25 มิถุนายน 2556

ทิศทางวิชาการด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ ในการพัฒนาพื้นที่. 25 มิถุนายน 2556. นายแพทย์สุวัช เซียศิริ วัฒนา ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข. Executives Scenario. ระดับประเทศ. ระดับภูมิภาค. National Health Authority.

mahola
Download Presentation

25 มิถุนายน 2556

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางวิชาการด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ทิศทางวิชาการด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ ในการพัฒนาพื้นที่ 25 มิถุนายน 2556 นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข

  2. Executives Scenario ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค

  3. National Health Authority Envisioning, Leading, Directing, Strategic Formulation, Risk Mitigation, Integration, Good Governance National Information Center, National Claim Center(สปสช.) Quality Improvement, Efficiency Improvement, Logistic Support, Reengineering, Reprocess, Monitoring Provider Regulator Purchaser Workforce HRM Professional Non-Professional Capacity Building Motivation Innovation R/D Prevention Promotion Treatment Rehabilitation UC/Non UC Quality Improvement Accessibility Efficiency Effectiveness Excellency Innovation R/D Strategy to Operation Planning GuideLine Co-ordination Prioratization Audit, Monitor Evaluation Measurement Technical Assessment Technical Support Innovation, R/D Standardization Definition Benefit Package Financing Purchasing Payment Mechanism Cost Effective Analysis Innovation R/D Health Communication Participation บุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม Healthy, Quality of life ,CRM, CSR, Health Literacy, Civil Society Selective Strengthening

  4. Central Level National Health Authority สธ. สปสช. สช. สสส. สวรส. สภาวิชาชีพ อื่น ๆ National Information Center, National Claim Center(สปสช.) รองปลัดกระทรวง, ผู้ตรวจราชการ. สาธารณสุขนิเทศก์, ผู้ทรงคุณวุฒิ Workforce Provider Regulator Purchaser สภาวิชาชีพ สบช. สำนักมาตรฐานการพยาบาล กลุ่มบริหารบุคคล สนย. New Structure สบรส., โครงการเฉพาะ, สบฉ. กลุ่มประกัน, สนย. New Structure กรมอนามัย กรมแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมแพทย์แผนไทย กรมวิทย์ สรป. IHPP กลุ่มกฎหมาย สนย. HITAP กรมวิชาการทั้งหมด อย. สารนิเทศ IT New Structure สปสช. สสส. สพฉ. Health Communication (Health Channel) Participation กรมสบส. บุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม

  5. Regional Level Purchaser อปสข. Regulator ผู้ตรวจราชการ Provider คปสข.

  6. Provincial Level National Information Center, National Claim Center,(สปสช.) ประกันสังคม จังหวัด สาธารณสุขจังหวัด Area Health Service Authority Regulator Workforce Provider Purchaser โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน รพ.สต., สอ. สสอ. โรงเรียนแพทย์ โรงพยาบาลรัฐอื่น โรงพยาบาลเอกชน

  7. National Health Authority Function

  8. บทบาท National Health Authority ที่ต้องพัฒนา • การกำหนดนโยบายยุทธศาสตร์กลางของประเทศบนข้อมูลและฐานความรู้ • การสร้างและจัดการความรู้ด้านสุขภาพ • การประเมินนโยบายและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ • การกำหนดรับรองมาตรฐานบริการต่างๆ • การพัฒนาระบบกลไกเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ • การพัฒนากลไกด้านกฎหมายเพื่อเป็นเครื่องมือพัฒนาและดูแลสุขภาพประชาชน • การพัฒนางานสุขภาพโลกและความร่วมมือระหว่างประเทศ • การกำกับดูแล ติดตามและประเมินผลของภาครัฐ ท้องถิ่น เอกชน • การให้ข้อคิดเห็นต่อระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพของประเทศ • การพัฒนาข้อมูลข่าวสารให้เป็นระบบเดียวมีคุณภาพใช้งานได้ • การกำหนดนโยบายและจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ • เขตสุขภาพ strategy Knowledge Management Tech. Assessment Service Standard Surveillance Law&Regulate Global & international Health M&E Financing Information HR Regional Health

  9. กลไกการดำเนินการพัฒนา กสธ. • ระดับกระทรวง โดย คณะกรรมการพัฒนากระทรวงสาธารณสุข (cco กสธ. /cco กรม/ สนย/ กพร.(เลขา)) บทบาท : ติดตามงานแต่ละคณะ/ Wrap up/ Blue Print for change/ Change plan • National Health Authority (ส่วนกลาง) • - 9 กรม : โดย ccoกรม และทีม (กรม+สป.) • - 11 บทบาท โดย ผตร. /สธน./ ผู้แทนกรม/ ผชช./ ทีมที่ปรึกษา • Regional Health (เขตพื้นที่เครือข่าย) • - หัวหน้าผู้ตรวจ / ผู้ตรวจ และคณะ • - และทีมสนับสนุนจากส่วนกลาง

  10. ความก้าวหน้าและข้อเสนอจากการศึกษาความก้าวหน้าและข้อเสนอจากการศึกษา

  11. Strategy คณะรัฐมนตรี คณะกรรมการนโยบายสาธารณสุขแห่งชาติ (National Health Policy Board : NHPB) Health Intelligent Agency : HIA 2 กสธ สสส. สปสช. สภาวิชาชีพ สช. 1. รัฐ สนย. กระบวนการสมัชชาสุขภาพ : สช กรม สป. กรม รัฐ วิชาการ สน.แผน สน.แผน ประชา สังคม การกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์กลางของประเทศ - ข้อเสนอ

  12. National Health Policy Board Envisioning, Leading, Directing, Strategic Formulation, Risk Mitigation, Integration, Good Governance. โครงสร้าง พันธกิจ อำนาจหน้าที่ นโยบายแห่งรัฐ • เป็นคณะกรรมการกำหนดนโยบายสุขภาพแห่งชาติ ทำหน้าที่เป็น ครม.ด้านสุขภาพ • มีนายกรัฐมนตรี/รองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมายเป็นประธาน • รมว.สธ.เป็นรองประธาน • ปลัด กสธ. เป็นเลขานุการคณะกรรมการ • กำหนดทิศทางและนโยบายหลัก ด้านสุขภาพของประเทศ • ชี้นำ สั่งการและกำกับในทุกหน่วยงาน/องค์กรที่เกี่ยวข้องด้านสุขภาพ • บูรณาการและแก้ไขประเด็นปัญหาสำคัญด้านสุขภาพ • ติดตาม ตรวจสอบประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของหน่วยงาน/องค์กรด้านสุขภาพ • กลั่นกรองนโยบายสำคัญด้านสุขภาพ ก่อนนำเสนอ ครม. • บูรณาการงาน/นโยบายสุขภาพ ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • มอบหมาย/สั่งการแนวทางปฏิบัติให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ควบคุมกำกับผลการดำเนินการในโยบายหลักและสำคัญด้านสุขภาพของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • นโยาบายสำคัญมีผลกระทบสูง เกี่ยวข้องหลายหน่วยงาน • Teenage pregnancy • Aging society • AEC • Medical hub • Health Care Financing • Human Resource Development • Long Term Care • etc.

  13. กระบวนการในการเสนอ-สั่งการ-ควบคุมกับ และประเมินผลนโยบายของ NHPB เสนอ/ริเริ่มนโยบาย ครม./รมว./หน่วยงาน/ คกก.แห่งชาติ วิเคราะห์นโยบายเสนอ NHPB HIA NHPB พิจารณา NHPB ดำเนินการใน กสธ ดำเนินการโดยกองทุน/ผู้ซื้อบริการ ดำเนินการในหน่วยงานอื่น กำกับการดำเนินงาน HIA ประเมินผล

  14. Health Intelligent Agency : HIA Policy coordinator, Policy analysis, Policy evaluator, Policy steering & direction. โครงสร้าง พันธกิจ เครือข่ายสำคัญ เครือข่ายสำคัญ • มีขีดความสามารถในการวิเคราะห์และเสนอนโยบายสุขภาพในระดับสูง • ต้องการความยืดหยุ่นในการคัดเลือกบุคลากรทำงานในหน่วยงาน • อาจเป็น • 1) หน่วยราชการ (เทียบเท่ากรม) • 2) หน่วยงานในกำกับ กสธ.(มีกฎหมายรองรับ) • 3) ย • วิเคราะห์และเสนอนโยบายสุขภาพของรัฐบาล/รัฐมนตรี • วิเคราะห์และเสนอนโยบายจากหน่วยงานอื่นนอก กสธ. • วิเคราะห์และเสนอนโยบายของกรมต่างๆ • วิเคราะห์และเสนอนโยบายแห่งรัฐ • NHI • IHPP • HSRI • HITAP • สวปก. • กรมวิชาการต่าง ๆ • สพฉ • สรพ • อภ • สภาวิชาชีพต่าง ๆ • กสธ. • สปสช • สปส • กรมบัญชีกลาง • ก.พาณิชย์ • กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น • สกอ. • สช • สสส • กทม. • สตช • กห.

  15. KM ๑.ปรับรูปแบบการทำงานFunctionnal Change เน้นเป้าในเขตบริการ/ทำงานร่วมกับส่วนกลางเพื่อเชื่อมประสานด้านการสร้างและจัดการความรู้ด้านสุขภาพ ๒.ให้มีโครงสร้างสนับ สนุนการสร้างและจัดการความรู้ด้านสุขภาพและงานวิจัยของกระทรวงเป็นหน่วยงานกลาง ๓.พัฒนาศูนย์วิชาการ Excellence Center ในภูมิภาคและเพื่อรองรับระบบบริการ Service Plan และผลักดันให้พัฒนาศักยภาพเป็น Research Center ในภูมิภาค 2.

  16. Tech. Assessment ๑. ภารกิจของกระทรวง ตั้งแต่การส่งเสริม ป้องกันโรค รักษาฟื้นฟู และคุ้มครองผู้บริโภค (ทุกกรม) รวมทั้งองค์กรทุก ส. ที่จะใช้ทรัพยากรส่วนรวมต้องมี Concious เรื่อง Technology Assessment ๒.ทุกส่วนราชการในสังกัด ควรมีโครงสร้างด้าน IT ๓.มีเกณฑ์ระดับชาติ ที่มี Methodology ที่ยึดถือร่วมกัน ๔.มีหน่วยงานระดับ ชาติที่รับ Consult กรณีซับซ้อนยุงยาก 3.

  17. Service Standard • พิจารณามาตรฐานบริการ ๔ ระบบ • - การรักษาพยาบาล • - การส่งเสริมสุขภาพ • - ป้องกันควบคุมโรค • - การคุ้มครองผู้บริโภค • โดยแยกตามประเด็น Input , Process และ Output ตามระดับการใช้งาน • เช่น รพศ+รพท /รพช/รพ.สต. • .....อยู่ในขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้อง…. 4.

  18. Surveillance เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบเฝ้าระวังโรค ภัยสุขภาพและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ได้จัดทำข้อเสนอทางเลือก ๓ ทางเลือก ดังนี้ ๑.จัดตั้งคณะกรรมการประสาน งาน NPHSS Committee ๒.จัดตั้ง NPHSS center ๓.จัดตั้ง NPHSS Institute. (NPHSS : National Public Health Surveilance System) 5.

  19. Law&Regulate ๑.มีการศึกษาเปรียบเทียบกับประเทศต่างๆ เกี่ยวกับโครงสร้างสำนักกฎหมายในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ว่ามีอำนาจหน้าที่อย่างไรเพื่อมาปรับใช้กับประเทศไทย ๒.การทบทวนบทบาทโครงสร้างของสำนักงานด้านกฎหมายในกระทรวงสาธารณสุข ในประเด็น - บทบาทงานกฎหมายของกรมวิชาการ - บทบาทงานกฎหมายใน สป.สธ - บทบาทงานกฎหมายในภูมิภาค - โครงสร้างงานกฎหมายในแต่ละหน่วยงาน - เป้าหมาย/ตัวชี้วัด(KPI) ของงานกฎหมาย 6.

  20. Global & international Health อยู่ในขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้อง 7.

  21. M&E ๑.กลุ่มเป้าหมาย ควรใช้ประชากรเป็นตัวตั้ง แยกบทบาทหน้าที่ของแต่ละระดับให้ชัดเจน ๒.การกำกับ ติดตาม ประเมินผลในระดับต่างๆ ระดับประเทศ ระดับเขต ระดับจังหวัด ระดับพื้นที่ จะมีโครงสร้าง ระบบกลไกให้หน่วยงานกรม/กอง เข้าไปมีบทบาทประสานเชื่อมโยงอย่างไร ๓.ประเด็นการกำกับ ติดตาม ประเมินผล มีเครื่องมืออะไร/ ใครใช้ระเบียบกฎหมาย ๔. จะ Evaluate & Monitor หน่วยบริการภาครัฐ เอกชน ท้องถิ่น มหาวิทยาลัย ๕.ภารกิจของกรมที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่น ทั้งด้านส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรคควรชัดเจนในเรื่อง - ทิศทางบทบาทการพัฒนาสุขภาพท้องถิ่น - Technical support เพื่อผลักดันพัฒนาสุขภาพ 8.

  22. Financial ๑.กลไกระดับชาติ - กำกับทิศทาง/อภิบาลระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ - หน่วยงานกลางระดับชาติกำหนด สิทธิประโยชน์ บริหารจัดการยา กำหนดราคากลาง อัตราการจ่ายเดียว ๒.กลไกระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพที่พึงประสงค์ในฐานะ NHA - บทบาทผู้กำหนดนโยบาย ผู้ให้บริการ ผู้ซื้อบริการ ต้องแยกอย่างชัดเจน - ระบบสิทธิประโยชน์หลักที่เป็นมาตรบานของประเทศ - มีกลไกจ่ายเงินหลักลักษณะเดียว ไม่ว่าจะมีกี่กองทุน - เป็นธรรม ไม่เหลื่อมล้ำ เข้าถึงบริการ ไม่เลือกปฏิบัติ - ระบบจ่ายเงินที่ควบคุมค่าใช่จ่ายระยะยาวได้ดี ๓.จัดให้มีกลไกประเมินประสิทธิผลความคุ้มค่าของทุกระบบหลักประกันสุขภาพ ๔.คณะทำงานที่ตั้งขึ้นภายใต้ NHA ด้านการเงินการคลัง 9.

  23. Information ๑.การทบทวนระบบการจัดเก็บข้อมูล ได้มอบหมายให้แก่ละกรมทำการทบทวนเพิ่มเติมในส่วนที่ยังขาด พร้อมทั้งกำหนด standard report ๒.ได้ข้อสรุป report ๑๐ report และแบ่งเป็น ๒ ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ ๑ นำเสนอผลการดำเนินงานต่อผู้บริหาร ส่วนที่ ๒.เพื่อการกำกับติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานของกรม กิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป มีดังนี้ ๑)วิเคราะห์ระบบข้อมูล เพื่อบูรณาการในส่วนที่ซ้ำซ้อน และการใช้ประโยชน์ข้อมูลร่วมกันจากฐานข้อมูล ๔๓ แฟ้ม วิเคราะห์ระบบฐานข้อมูลที่พึงประสงค์ เพื่อจัดทำข้อเสนอการพัฒนาข้อมูลข่าวสารให้เป็นระบบเดียว มีคุณภาพใช้งานได้ ๒)รวบรวมส่ง standard report ของแต่ละกรม ๓)วิเคราะห์ส่วนขาด หรือข้อควรปรับปรุง ๔)จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายรวมทั้งบทบาทและโครงสร้างหรือกลไกการทำงาน การพัฒนาข้อมูลข่าวสารให้เป็นระบบเดียว ๕) จัดประชุมรับฟังความคิดเห็นผู้ที่เกี่ยวข้อง 10

  24. HR ๑.ให้มีการพัฒนากลไกด้านนโยบายการจัดการกำลังคนในทุกระดับ ประกอบด้วย รองปลัดกระทรวงฯดูแลด้านกำลังคนด้านสุขภาพ ๒.ในระดับกระทรวงมีคณะกรรมการนโยบายการจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ 11

  25. Regional Health 12 Service Provider : หน่วยงานที่มีหน้าที่บริการรักษาพยาบาลฟื้นฟู ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ให้บริการ ปชช.ทั้งโดยตรงและโดยอ้อม Regulator : หน่วยงานที่กำหนดนโยบาย กำหนดและประเมินมาตรฐาน กำกับให้เป็นไปตามนโยบาย กฎหมาย รวมถึงการจัดการความรู้

  26. Regional Health • การจัดการทรัพยากร • 6 เครือข่าย ก.บริหารเขต พิจารณา กำลังคน งบประมาณ • 3 เครือข่าย ก.ชุดย่อยๆ พิจารณาแต่ละด้าน • 3 เครือข่าย ก.ชุดย่อยๆ พิจารณา เสนอ คปสข.อนุมัติ • Provider /regulator • 10 เครือข่าย ยังไม่แยกชัดเจน โดยมอบ สธน.กำกับด้านวิชาการ • 1 เครือข่าย ที่แบ่ง provider(ก.บริหารเขต)regulator(ทีมนิเทศ) • 1 เครือข่าย ยังไม่ได้แยกชัดเจน แต่กำหนด purchaser (สสจ.ซื้อบริการหน่วยบริการนอกสังกัด) • การบริหารสำนักงาน • 4 เครือข่าย ใช้บุคลากรที่มีอยู่เดิม มี task force รายประเด็น • 4 เครือข่าย ใช้ทีม สสจ.ที่ตั้งเขต/มอบภารกิจให้แต่ละ จ. • 2 เครือข่าย มี จนท.ประจำ 5 คนประสาน ก.ชุดต่างๆ • 1 เครือข่าย ใช้ทีมเขตเดิม เพิ่ม จนท.จาก ศูนย์วิชาการ • 1 เครือข่าย มอบ ผชช.ว.หน.ส.เขต+ทีม 10 คน

  27. ข้อเสนอ • (ร่าง) ภารกิจของเขตสุขภาพ • กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์สุขภาพระดับเขต • บริหารจัดการบริการ การคลังสุขภาพ • กำกับตรวจสอบ ติดตามประเมินผล • อภิบาลระบบ ให้เกิดประสิทธิภาพ คุณภาพ ความเป็นธรรม • กำหนดหลักเกณฑ์การจัดสรรทรัพยากร • กำกับ ติดตาม ตรวจสอบการจัดสรร ปรับเกลี่ยทรัพยากร • เป็นศูนย์ความร่วมมือภาคีต่างๆ • ประเมินรับรองมาตรฐานงานคุ้มครองผู้บริโภค • อำนาจของเขตสุขภาพ(ตามภารกิจใหม่) • อนุมัติแผน/จัดสรรทรัพยากร/งบประมาณ/กำลังคน/ในระดับเขต • อำนาจการบริหารงานบุคคล แต่งตั้งโยกย้าย ประเมินบุคคล • ออกคำสั่ง/ระเบียบการเงิน /งานบุคลตั้งกรรมการ/อำนาจถอดถอน ลงโทษ

  28. Area Health Board : AHB สนง. คณะกรรมการ AHB Regulator Board Service Provider Board Purchaser Board ศูนย์วิชาการเขต สตป.เขต/สนง.เขต รพศ./รพท./รพช./รพ.สต. ประสานกับ สบรส. สนง.อปสข. ประสานกับ สปสช.

  29. ขอบคุณ

More Related