170 likes | 270 Views
Multimedia PC. มัลติมีเดียพีซี. พัฒนาการที่ก้าวหน้าของ PC ทำให้ปัจจุบัน มีความสามารถไม่แพ้เครื่องเสียงแยกชิ้นในบ้าน PC สามารถใช้ฟังเพลง หรือชมภาพยนต์ด้วยระบบเสียงเดียวกับเครื่องเสียงในบ้าน แหล่งกำเนิดภาพและเสียง : ได้แก่ตัว PC ที่มี Sound Card, CD-ROM , DVD ROM , VGA
E N D
มัลติมีเดียพีซี • พัฒนาการที่ก้าวหน้าของ PC ทำให้ปัจจุบัน มีความสามารถไม่แพ้เครื่องเสียงแยกชิ้นในบ้าน PC สามารถใช้ฟังเพลง หรือชมภาพยนต์ด้วยระบบเสียงเดียวกับเครื่องเสียงในบ้าน • แหล่งกำเนิดภาพและเสียง: ได้แก่ตัว PC ที่มี Sound Card, CD-ROM , DVD ROM , VGA • อุปกรณ์ขยายเสียง: ได้แก่ Amplifier ส่วนมากมักมากับชุดลำโพง Sound Card บางรุ่นสามารถส่งสัญญาณไปยัง AV/Receiver ได้ด้วย • ชุดลำโพง: นับตั้งแต่ลำโพง 2 ชิ้นธรรมดาไปจนถึง Surround Speaker พร้อมด้วยลำโพง Subwoofer
CD/DVD CD/DVD VGA VGA SOUND SOUND PC PC PC Entertainment
PC Media Files • ได้แก่ไฟล์ที่เก็บข้อมูลภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว หรือทั้งภาพทั้งเสียง • Video / Motion Picture File มักมีทั้งภาพและเสียงรวมกัน เป็นภาพเคลื่อนไหว ไฟล์เหล่านี้เก็บในฟอร์แมต MPEG , VCD , AVI เป็นต้น • Audio File ไฟล์ที่เก็บข้อมูลสัญญาณเสียง เช่น WAVE , MP3 หรือข้อมูลอื่นที่เกี่ยวกับเสียง เช่น MIDI เป็นต้น
MPEG • เป็นไฟล์ภาพ/เสียง หรือภาพเคลื่อนไหวหรือวิดีโอที่ผ่านการบีบอัด(Compress) ให้มีขนาดเล็ก • MPEG : Moving Picture Experts Group • ชื่อเต็มของ MPEG-1 คือ ISO/IEC JTC1 SC29 WG11 • MPEG-1 มีข้อจำกัดค่อนข้างมาก ทำให้ภาพที่ออกมาแค่พอใช้ได้ ตัวอย่างของฟอร์แมตนี้ได้แก่ VCD • มาตรฐาน MPEG-1 แยกบีบอัดภาพและเสียงออกจากกันคนละ Layer • เพลง MP3 คือ MPEG-1 Layer 3
MPEG-2 • พัฒนาการบีบอัดสัญญาณที่ซับซ้อนกว่า MPEG-1 คุณภาพของภาพและเสียงดีกว่า MPEG-1 ตัวอย่างสัญญาณที่เข้ารหัสแบบ MPEG-2 เช่น • Direct Broadcast Satellite ถ่ายทอดสดผ่านดาวเทียม • ระบบเคเบิลทีวี CATV ทีวีความละเอียดสูง HDTV • ระบบบันทึกภาพและเสียงในแผ่น DVD • ระบบบีบอัดสัญญาณเสียงแบบ Dolby Digital AC-3
MPEG-3 • พัฒนาเพื่อใช้กับระบบภาพ HDTV โดยเฉพาะ คุณภาพของสัญญาณมีความเที่ยงตรงละเอียดสูง • เครื่องเสียง Hi-End หรือ A/V Receiver ตามบ้านเริ่มติดตั้งตัวถอดรหัส MPEG-3
MPEG-4 • เน้นการบีบอัดสัญญาณเพื่อความรวดเร็วในการเคลื่อนย้ายหรือส่งสัญญาณ • คุณภาพของภาพอยู่ในระดับยอมรับได้ Bit rate ต่ำ ทำให้สามารถส่งข้อมูลแบบ Streaming ได้ • ต้องการตัวถอดรหัสที่มีกำลังสูงกว่าแบบอื่น เนื่องจากมีความซับซ้อนกว่ามาก • ส่วนใหญ่ใช้กับอุปกรณ์จำพวก Mobile • Videophone • Multimedia Email Bit rate คืออัตราการใช้ข้อมูลหน่วยวัดเป็น Kbps เช่น MP3 เข้ารหัสที่ 128 Kbps หมายความว่าเวลาเล่นกลับ CPU จะอ่านข้อมูลที่ประมาณ 128,000 บิทต่อวินาที
MP3 • MP3 อาศัยการย่อข้อมูลให้มากที่สุด ยอมสูญเสียคุณภาพเสียงบางส่วนออกไป ตัดเสียงที่ซ้ำซ้อนออก เลือกเฉพาะเสียงที่หูมนุษย์สามารถตอบสนองได้ชัดเจน • MP3 ไม่สามารถแยกเสียงรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆได้ครบถ้วนคุณภาพของ MP3 จึงขึ้นอยู่กับ • เก็บข้อมูลแบบ Mono หรือ Stereo • อัตราการใช้ข้อมูลซึ่งจะอยู่ระหว่าง 96-128 Kbps • ขนาดของไฟล์หลังบีบอัดโดยเฉลี่ยคุณภาพระดับซีดีอยู่ที่ 1 เมกะไบต์ต่อนาที คุณภาพระดับเสียงโทรศัพท์เท่ากับ 0.06 เมกะไบต์ต่อนาที
MP3 (Continue) • VCD นั้นมี 2 Layer คือ Video และ Audio ส่วน MP3 คือ Layer 3 เป็น Audio Layer ที่มีคุณภาพเสียงเหนือกว่า • Audio CD จะเก็บสัญญาณเสียงในรูปคลื่นดิจิตอล Linear PCM 16 bit 44.1 KHz ความจุในดิสค์ 8.78 Mb ต่อนาที ในขณะที่ MP3 ใช้ประมาณ 1 Mb ต่อนาที • ข้อด้อย • คุณภาพเสียงบางส่วนหายไป • ไม่สามารถแยกแยะมิติเสียงกับระบบ Surround ได้ 100% • เสียงบางช่วงอาจมีการแตกพร่า
Digital Surround : ระบบเสียงรอบทิศ • การสร้างความรู้สึกสมจริง ด้วยลำโพงรอบทิศทาง บันทึกเสียงแยกหลายช่องสัญญาณ เช่น • Dolby Surround (Dolby Prologic) • Dolby Digital (AC-3X • DTS (Digital Theatre System) • มีความ compatible กับระบบ Stereo 2ลำโพงเดิม • บางระบบจะเข้ารหัสสัญญาณผสมเข้ากับสัญญาณเดิม แล้วใช้ตัวถอดรหัสที่มีมากับเครื่องเสียงแยกสัญญาณออกมา แต่ DTS , AC-3 จะแยกสัญญาณเสียงเอาไว้ต่างหาก
Streaming • หลักการง่าย ๆ Play ไป Loadไป ไม่ต้องรอให้ Load จาก Server จดหมดแล้วค่อย Play ทีเดียว เพราะบางครั้งไฟล์จะมีขนาดใหญ่ต้องรอนาน • A/V Screaming กำลังนิยมใช้ในระบบที่ต้องมีการถ่ายทอดสดทางอินเตอร์เน็ต • Windows Media Player 7.0 up • Real Player • Apple Quicktime • การรับส่งข้อมูลแบบ Streaming จะทำได้ดีที่ความเร็วอย่างต่ำ 33.6 Kbps • Server บางชนิดสามารถปรับขนาดของข้อมูลตามความเร็วอัตโนมัติ
CD : DVD • CD นับว่าเป็นสื่อบันทึกที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในปัจจุบัน ทั้งการจัดเก็บ Audio , Video , Data , Software หรือเก็บทุกอย่างในแผ่นเดียว • CD ทั่วไปมีความจุ 650 Mb สามารถบันทึกเสียงต่อเนื่องได้ 74 นาที เส้นผ่าศูนย์กลาง 12 CM หนา 1 มิลลิเมตร • Mini CD เส้นผ่าศูนย์กลาง 8 Cm ความจุ 185 Mb • CD-R สามารถเขียนได้ 1 ครั้ง(เขียนซ้ำที่เดิมไม่ได้) • CD-RW สามารถเขียนซ้ำได้หลายครั้ง • ข้อมูลจะบันทึกอยู่ในลักษณะของ Land และ Pitch หลุมซึ่งจะทำการสะท้อนหรือดูดซับแสงเลเซอร์เพื่อแทนรหัส 0 และ 1
CD-R / RW • CD-R ต่างจาก CD ธรรมดาตรงที่บันทึกข้อมูลได้ เพราะอาศัยสารไวแสงแบบเดียวกับฟิล์มถ่ายรูป เมื่อกระทบแสงจะทำให้เกิดจุดมืดสว่างเหมือนหลุมนั่นเอง • CD-RW ใช้วัสดุที่มีชื่อว่า แธลละไซอะไนท์(Pthalacyanine) สารไวแสงสีน้ำเงินหรือเขียว มีธาตุโลหะรวมอยู่ด้วย • การสร้างข้อมูลของ CD-RW จะใช้วิธีเปลี่ยนสถานะของสารเคมีซึ่งจะมีผลึกคริสตัลทำหน้าที่เรียงตัวแบบขัดขวางหรือยอมให้แสงผ่านแล้วสะท้อนกลับจากชั้นสะท้อนแสง
Blue-Ray Disc • Blu-ray เกิดจากความร่วมมือ และพัฒนาโดยบริษัทยักษ์ใหญ่ 9 บริษัท ที่เรียกตัวเองว่า “The Blu-ray Disc Founders” ซึ่งประกอบไปด้วย Hitachi Ltd., LG Electronics Inc., Matsushita Electric Industrial Co., Ltd., Pioneer Corporation, Royal Philips Electronics, Samsung Electronics Co. Ltd., Sharp Corporation, Sony Corporation และ Thomson Multimedia • แผ่น BD-R (SL) หมายถึง BLU-Ray Disc ROM แบบ Single Layer แบบหน้าเดียว มีความจุ 25 GB • แผ่น BD-R (DL) หมายถึง BLU-Ray Disc ROM แบบ Double Layer แบบหน้าเดียว มีความจุ 50 GB • แผ่น BD-R (2DL) หมายถึง BLU-Ray Disc ROM แบบ Double Layer แบบสองหน้า มีความจุ 100 BG
Laser Beam • ด้วยขนานเส้นผ่านศูนย์กลางของแสงที่เล็กกว่าทำให้ข้อมูลมีขนาดเล็กกว่า