230 likes | 597 Views
มาตรฐานมะม่วง (มกษ.5-2546). โดย นางสาวนลินทิพย์ เพณี สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. ขอบข่าย. มาตรฐานนี้ใช้กับ “มะม่วง” ( Mangoes) พันธุ์ที่ผลิตเป็นการค้า ซึ่งมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า “ Mangifera indica L.” และอยู่ในวงศ์ Anacardiaceae สำหรับการบริโภคสด. คุณภาพ : คุณภาพขั้นต่ำ.
E N D
มาตรฐานมะม่วง (มกษ.5-2546) โดย นางสาวนลินทิพย์ เพณี สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
ขอบข่าย มาตรฐานนี้ใช้กับ “มะม่วง” (Mangoes) พันธุ์ที่ผลิตเป็นการค้า ซึ่งมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า“Mangiferaindica L.” และอยู่ในวงศ์ Anacardiaceaeสำหรับการบริโภคสด
คุณภาพ: คุณภาพขั้นต่ำ มะม่วงทุกชั้นต้อง มะม่วงแก่ได้ที่ • เป็นมะม่วงทั้งผล กรณีบรรจุเพื่อส่งออก ถ้ามีขั้วผลติดอยู่ต้องยาวไม่เกิน 1 cm • ตรงตามพันธุ์ • มีความสดตามสภาพผลสุก/ผลดิบ • ไม่มีรอยช้ำ ไม่เน่าเสีย ที่ไม่เหมาะกับการบริโภค • ไม่มีตำหนิเด่นชัด/ตำหนิไม่มีผลต่อเนื้อภายใน • ไม่มีศัตรูพืชที่กระทบรูปลักษณ์ทั่วไป • ไม่มีความเสียหายจากศัตรูพืช • ปลอดจากความชื้นผิดปกติ • ปลอดจากความเสียหายอุณหภูมิสูง/ต่ำ • ปลอดกลิ่น/รสชาติแปลกปลอม คือ ผลมะม่วงที่สามารถพัฒนาเป็นผลสุกได้ภายหลังเก็บเกี่ยวจากต้น ทั้งนี้ เหมาะสมกับพันธุ์ และแหล่งปลูก คุณภาพการรับประทานเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค และผลอยู่ในสภาพที่ยอมรับได้เมื่อถึงปลายทาง
ตัวอย่าง : มะม่วงแก่ได้ที่
คุณภาพ: การแบ่งชั้นคุณภาพ
การแบ่งขนาด เกณฑ์ความคลาดเคลื่อน มะม่วงทุกชั้นมีขนาดที่ใหญ่หรือเล็กกว่าชั้นถัดไปหนึ่งชั้นปนมาได้ไม่เกิน 10% โดยจำนวนหรือน้ำหนัก
เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนเรื่องขนาดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนเรื่องขนาด มะม่วงทุกชั้นมีขนาดที่ใหญ่หรือเล็กกว่าชั้นถัดไปหนึ่งชั้นปนมาได้ไม่เกิน 10% โดยจำนวนหรือน้ำหนัก แต่มีความแตกต่างของขนาดในแต่ละภาชนะบรรจุต้องไม่มากกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ตามตารางนี้
การบรรจุ/จัดเรียงเสนอการบรรจุ/จัดเรียงเสนอ • มะม่วงที่บรรจุในแต่ละภาชนะบรรจุต้องมาจากแหล่งเดียวกัน มีความสม่ำเสมอในเรื่องพันธุ์ คุณภาพ ขนาด และสีใกล้เคียงกัน • บรรจุมะม่วงในลักษณะที่เก็บรักษได้อย่างดี วัสดุที่ใช้ภายในใหม่ สะอาด และมีคุณภาพป้องความเสียหายที่มีผลต่อมะม่วง • บรรจุภัณฑ์มีคุณภาพ ถูกสุขลักษณะ ทนทานต่อการขนส่ง และรักษาผลมะม่วงได้ • บรรจุภัณฑ์ต้องปราศจากลิ่นและสิ่งแปลอกปลอม
เกณฑ์กำหนดความปลอดภัยเกณฑ์กำหนดความปลอดภัย
ข้อกำหนดอื่นๆ การแสดงเครื่องหมายหรือฉลาก วิธีวิเคราะห์/ชักตัวอย่าง
UNECE STANDARD FFV-45: MANGOES Provisions concerning sizing For mangoes sized by count, the difference in size in the package should be consistent with the above table.
ASEAN STANDARD FOR MANGO ASEAN Standard 2:2006 The maximum permissible difference between fruit in the same package belonging to one of the above mentioned size groups shall be 50g for all classes except E which is 100g . The minimum weight of mangoes must not be less than 100 g.
ASEAN STANDARD FOR MANGO ASEAN Standard 2:2006 • SIZE TOLERANCES • For all classes, 10% by number or weight of mangoes in each package are permitted to be outside (above or below) the group size range as follows
CODEX STANDARD FOR MANGOES (CODEX STAN 184-1993) PROVISIONS CONCERNING SIZING Size is determined by the weight of the fruit, in accordance with the following table: • The maximum permissible difference between fruit in the same package belonging to one of the abovementioned size groups shall be 75, 100 and 125 g respectively. The minimum weight of mangoes must not be less than 200 g.
CODEX STANDARD FOR MANGOES (CODEX STAN 184-1993) 4.2 SIZE TOLERANCES For all classes, 10% by number or weight of mangoes in each package are permitted to be outside(above or below) the group size range by 50% of the maximum permissible difference for the group. In the smallest size range, mangoes must not be less than 180 g and for those in the largest size range a maximum of 925 g applies, as follows:
ข้อมูลน้ำหนักเฉลี่ยของมะม่วงทั้ง 9 พันธุ์ • ที่มา: โครงการศึกษาเกณฑ์คุณภาพสำหรับการปฏิบัติทางเกษตรที่ดี และการทบทวนมาตรฐานมะม่วง