280 likes | 480 Views
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทย : มิติใหม่ของการพัฒนาประเทศ. โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 27 สิงหาคม 2546. 2. ในวัยแรกเกิด-14 ปี 5 อันดับต้น แยกตามเพศ. ปี พ.ศ. 2542 หน่วยวัดเป็น “ DALYs” ( ข้อมูล สสส.). ชาย. หญิง. อันดับ. กลุ่มโรค. DALYs. อันดับ. กลุ่มโรค. DALYs.
E N D
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทย : มิติใหม่ของการพัฒนาประเทศ โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 27 สิงหาคม 2546
2 ในวัยแรกเกิด-14 ปี 5 อันดับต้น แยกตามเพศ ปี พ.ศ. 2542 หน่วยวัดเป็น “DALYs” (ข้อมูล สสส.) ชาย หญิง อันดับ กลุ่มโรค DALYs อันดับ กลุ่มโรค DALYs 91,934 83,879 1. นน.แรกคลอดน้อย 1. นน.แรกคลอดน้อย 66,575 57,475 2. ผิดปกติขณะคลอด 2. ผิดปกติขณะคลอด 45,345 43,084 3. เอดส์ 3. ติดเชื้อระบบหายใจ 37,944 42,574 4. จมน้ำ 4. โรคหัวใจแต่กำเนิด 36,376 39,753 5. ติดเชื้อระบบหายใจ 5. เอดส์ ตารางที่ 1 แสดง “ภาระโรค (Disease Burden)”
3 ตารางที่ 2 แสดง “ภาระโรค (Disease Burden)” ในวัย 15-29 ปี 5 อันดับต้น แยกตามเพศ ปี พ.ศ. 2542 หน่วยวัดเป็น “DALYs” ชาย หญิง อันดับ กลุ่มโรค DALYs อันดับ กลุ่มโรค DALYs 346,363 172,995 1. เอดส์ 1. เอดส์ 233,828 47,442 2. อุบัติภัยจราจร 2. โรคจิต 100,545 40,107 3. ยาเสพติด 3. อุบัติภัยจราจร 76,268 36,285 4. สุราแอลกอฮอล์ 4. โรคซึมเศร้า 63,349 25,471 5. ฆ่าตัวตาย 5. โลหิตจาง
สาเหตุหลัก : มาจากโรคที่มีพฤติกรรม 4 ลีลาชีวิตไม่เหมาะสม ปัญหาสุขภาพ เยาวชนไทย (ข้อมูล สสส. ปี 2544) เยาวชนพัฒนาทางกายต่ำกว่า สถานภาพ สุขภาพ เด็กไทย เกณฑ์มาตรฐานสากล 15% ดช.ไทยอายุ 12 ปี นน.ตัว < ดช. ญี่ปุ่น 12 กก. ส่วนสูง < 14 ซม. ด.ญ.ไทย นน.ตัว<ด.ญ.ญี่ปุ่น 9 กก. ส่วนสูง< 7 ซม. เยาวชนไทยใน ร.ร.เกี่ยวข้องยาเสพติด 370,000 คน อุบัติเหตุคร่าชีวิตวันละ 35 คน ปีละ 80,000 ครั้ง ในจำนวนนี้มีเด็กอยู่ด้วย
5 สุขภาพมิใช่เพียงการรักษาโรค แต่เป็น สุขภาวะเชื่อมโยงกาย จิต สังคม ปัญญา การปฏิรูป ระบบสุขภาพ ตามร่าง พรบ. สุขภาพแห่งชาติ ที่บูรณาการ ระบบสุขภาพเป็นการสร้าง > ซ่อม องค์ประกอบของระบบสุขภาพ เชื่อมโยงบุคคล ครอบครัว และชุมชน จึงต้องทำงานโดยรวมพลังภาคีเครือข่าย (สุขภาพมี 3 ระดับ)
6 มีวิถีชีวิตที่ลดปัจจัยเสี่ยง บุคคล และเพิ่มปัจจัยเสริม ดูแลสุขภาพในแต่ละประเด็น สุขภาพ 3 ระดับ ให้พอเพียง ครอบครัว - อบอุ่นเป็นนักพัฒนา สังคม - สมดุลและพึ่งตนเองได้
7 1. สุขภาพองค์กรวม 2. บุหรี่ 3. อุบัติเหตุ ประเด็นสุขภาพ ที่แต่ละบุคคล ต้องดูแล 4. ออกกำลังกาย 5. ยาเสพติด 6. พฤติกรรมทางเพศ 7. ทันตสุขภาพ 8. สุรา 9. อาหาร
8 ความรู้ด้านสุขภาพ สุขภาพคนใน ครอบครัว ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ การอยู่ร่วมกันของสมาชิก ด้านสาธารณูปโภค - สร้างหลักประกันสุขภาพ - มีการปฏิรูประบบสุขภาพ สุขภาพระดับ สังคมต้องสร้าง สังคมเข้มแข็ง ด้านกีฬาเน้นกีฬาชุมชนและโรงเรียน ด้านยาเสพติดใช้มาตรการเข้มแข็ง ครบวงจร ด้านครอบครัว เน้นครอบครัวอบอุ่น
9 ดัชนีชี้วัดสุขภาวะในระดับสังคมไทย : สถานการณ์ที่พบในปี 2544 1. วัดด้านวิถีชีวิต (Lifestyle) 1) อัตราสูบบุหรี่ ชาย 42.9%, หญิง 2.4% (อายุ 15 ปี ขึ้นไป) - ชาย 19.0%, - หญิง 2.4% 2) อัตราดื่มเหล้า 8.05 ลิตร/คน (อายุ 15 ปี ขึ้นไป) 3) อัตราการใช้ยาเสพติด (เคยใช้) 16.4%
- ชาย 18.5%, - หญิง 23.4% 10 4) อัตราการขาดการ ออกกำลังกาย - ชายคนงานใช้ถุงยาง 36.6% - หญิง 20.4% 5) อัตราการมีเพศ สัมพันธ์อย่างไม่ ปลอดภัย - ความดันโลหิตสูง 11.4% - ดัชนีมวลกายไม่เหมาะ 34% 6) อัตราผลเสียจาก โภชนาการไม่ถูกต้อง (อ้วน) 86.9 คน/ประชากร 7) อัตราได้รับการบาดเจ็บ จากอุบัติภัย 100,000 คน
11 ดัชนีวัดสุขภาวะในระดับครอบครัว (ยังไม่ได้วัดผล) 1. เข้าใจวิถีชีวิต วินัยชีวิต + ทักษะชีวิต ( Well Being Literacy) 2. ร้อยละของเยาวชนที่ใช้จ่ายไปกับสินค้าทำลายสุขภาพ 3. อัตราการใช้ชีวิตอยู่พร้อมหน้ากับพ่อแม่ 4. อัตราผู้สูงอายุที่อยู่ตามลำพัง
12 ดัชนีวัดสุขภาวะในระดับชุมชน (ยังไม่ได้วัดผล) 1. อัตราของชุมชนที่มีกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ อย่างต่อเนื่อง 2. ร้อยละของชุมชนที่มีการวางแผนพัฒนา 3. ร้อยละของผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลโดยชุมชน 4. อัตราของชุมชนที่บอกว่าตนเองมีชีวิตที่เป็นสุข
13 5. อัตราลูกจ้างที่ประสบอันตรายจากการทำงาน 6. อัตราครัวเรือนได้รับผลกระทบจากมลพิษ 7. อัตราพื้นที่สวนสาธารณะและกิจกรรมนันทนาการ 8. อัตราการฆ่าตัวตาย
14 สาระสำคัญ - เรียนรู้ผ่านหลักสูตรและ สุขภาพ ในระบบ สถาน ศึกษา กิจกรรมที่มุ่งคุณภาพชีวิต เกิดข้อเสนอ/มาตรการ ผลักดัน ตัวชี้วัด ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ปรับหลักสูตร มีการทดลองในโรงเรียนนำร่อง มีระบบปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อสุขภาวะ มีโครงการสนับสนุนการเรียนรู้นอกระบบการศึกษา มีศูนย์สนับสนุนการเรียนรู้ มีตัวอย่างความสำเร็จ
15 กำหนดมาตรการ+แนวปฏิบัติ 1. กำหนด นโยบาย กำหนดมาตรฐานทำงาน กลยุทธ์ หลักของ ศธ. ด้าน สุขภาพ สร้างระบบจูงใจ ติดตามประเมินผล สนับสนุนการจัดประชุม 2. บทบาท สนับสนุน ให้โรงเรียน เป็นผู้ปฏิบัติ วิชาการ อุดหนุนงบบางส่วน
16 กำหนดปัญหาหลัก - ยาเสพติด กลยุทธ์ หลักของ ศธ. ด้าน สุขภาพ (ต่อ) - ทุพโภชนา/ อ้วน - อุบัติภัย 3. ผลักดัน เชิงรุก - เพศศึกษา/ เอดส์ - สุขภาพจิต บรรจุในหลักสูตรต้องเรียน ร.ร.กำหนดสาระหลักสูตรได้เอง ร.ร.ต้องปรับให้ทันสมัย
17 สุขศึกษาในห้องเรียน บริการสุขภาพ ได้แก่ กลยุทธ์ หลักของ ศธ. ด้าน สุขภาพ (ต่อ) - คลินิกสุขภาพ - นมโรงเรียน 4. จัดระบบให้ ครอบคลุม งาน - อาหารกลางวัน - ปลูกฝี/ ฉีดวัคซีน จัดสิ่งแวดล้อม - ร่มรื่น -ปลอดฝุ่น/ เสียง
18 ยาเสพติดชั้น ม.2 - ม.6 (12 - 16 ปี) กลยุทธ์ หลักของ ศธ. ด้าน สุขภาพ (ต่อ) เอดส์ เพศสัมพันธ์ - เด็กติดเชื้อแรกเกิด-ประถม 5. กำหนดกลุ่ม เป้าหมาย ตามประเด็น ปัญหา - ม.ปลาย/ มหาวิทยาลัย ทุพโภชนาชั้นประถม อุบัติภัย ได้แก่ - เด็กเล็กหกล้ม/ จักรยาน - มัธยม จักรยานยนต์ - นักศึกษา รถยนต์
19 สนับสนุนงานวิจัย 6. เน้นกระบวน การเรียนรู้ สร้างฐาน ความรู้ใหม่ สนับสนุนการพัฒนา กลยุทธ์ หลักของ ศธ. ด้าน สุขภาพ (ต่อ) กิจกรรมใหม่ ๆ สนับสนุนการผลิตสื่อ การใช้ IT 7. ขอการ สนับสนุน จาก NGO/ เอกชน ทำโครงการร่วมกัน ขอสนับสนุนด้านเงิน/วัสดุ อุดหนุนให้ไปดำเนินการ
20 กลยุทธ์ หลักของ ศธ. ด้าน สุขภาพ (ต่อ) ผลักดันเข้าสู่ระบบ ให้เป็นงานประจำ 8. ขอขยายผล จากตัวอย่าง ที่ดี ซึ่งต้องทำ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
21 9. สร้างภาคีเครือข่าย กลยุทธ์ หลักของ ศธ. ด้าน สุขภาพ (ต่อ) To Be No.1 กรมสุขภาพจิต Food Safety อย. โรงเรียนสุขภาพ กรมบริการ สธ. สนับสนุน Friends Corner กรมอนามัย เอดส์ กรมการแพทย์ ยาเสพติด รพ. ธัญรักษ์
22 9. สร้างภาคีเครือข่าย (ต่อ) กลยุทธ์ หลักของ ศธ. ด้าน สุขภาพ (ต่อ) แก้ปํญหายาเสพติด มท. + ศตส. ปราบผู้มีอิทธิพล โครงการสานสายใยครูและศิษย์ ศธ.ขอความ ร่วมมือ สธ. Food Bank จักรยานยืมเรียน ก. อุตสาหกรรม + ก. คมนาคม บ้านริมทางสร้างอนาคตชาติ กองบัญชาการ ตำรวจนครบาล การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อ ป้องกันอาชญากรรมและ ยาเสพติดในสถานศึกษา
23 การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อป้องกันอาชญากรรม และยาเสพติดในสถานศึกษา 1) กำหนดพื้นที่สาธารณะรอบโรงเรียน - สำรวจเส้นทางคมนาคม - สังเกตพื้นที่ล่อแหลมต่อนักเรียน - สถานที่เปลี่ยว - มีครูยืนหน้าประตูทางเข้า
24 การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อป้องกันอาชญากรรม และยาเสพติดในสถานศึกษา (ต่อ) 2) พื้นที่หลักในโรงเรียน - ให้มีการเห็นการเข้า - ออก - มีป้ายประกาศการใช้พื้นที่ - บังคับพฤติกรรม ไม่ให้มีเก้าอี้ในห้องน้ำ - สื่อสารคนข้างนอกได้ เช่น ติดออดติดสัญญาณ
25 การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อป้องกันอาชญากรรม และยาเสพติดในสถานศึกษา (ต่อ) 2) พื้นที่หลักในโรงเรียน (ต่อ) - ทำพื้นที่ให้สะอาด ผนังเป็นมันแวววาว - เข้มงวดกฎเกณฑ์ความปลอดภัย - สร้างความรู้สึกให้เป็นเจ้าของพื้นที่ร่วมกัน - กำหนดขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน + มีการซ้อม - มีระบบเตือนภัย
26 ดร.จรวยพร ธรณินทร์ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จบปริญญาเอกด้านสรีวิทยาของการออกกำลังกาย ดูผลงานเพิ่มเติมได้ที่ www.charuaypontorranin.com ประสบการณ์ด้านสร้างเสริมสุขภาพ 1. กรรมการบริหารในคณะกรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.) 2. กรรมการบริหารในสำนักงานคณะกรรมการสนับสนุน กองทุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
27 3. กรรมการบริหารในสำนักงานคณะกรรมการหลักประกัน สุขภาพ 4. กรรมการบริหารในสำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพ สปรส. 5. ริเริ่มเผยแพร่กิจกรรม Aerobic Exercise และ Aerobic Dance ตั้งแต่ปี 2519 6. ได้รับรางวัลดีเด่นด้านป้องกันปัญหายาเสพติดในส่วนของ สถานศึกษาจากสำนักงาน ป.ป.ส. ปี 2546