200 likes | 644 Views
แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2546 - พ.ศ.2550). โดย มนุชญ์ วัฒนโกเมร กรรมการ ก.พ.ร. ปฏิบัติงานประจำ 16 กรกฎาคม 2546. ประเทศไทยในบริบทของความเปลี่ยนแปลง. มิติทางด้านนานาชาติ - การเปิดการค้าเสรี - การเพิ่มขีดความสามารถ ในการเจราจาการค้า - การสร้างความร่วมมือ
E N D
แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2546 - พ.ศ.2550) โดย มนุชญ์ วัฒนโกเมร กรรมการ ก.พ.ร. ปฏิบัติงานประจำ 16 กรกฎาคม 2546 Public Sector Development Commission
ประเทศไทยในบริบทของความเปลี่ยนแปลงประเทศไทยในบริบทของความเปลี่ยนแปลง มิติทางด้านนานาชาติ - การเปิดการค้าเสรี - การเพิ่มขีดความสามารถ ในการเจราจาการค้า - การสร้างความร่วมมือ ในภูมิภาคเอเซีย (ADB) มิติทางด้านเศรษฐกิจ - การเปลี่ยนแปลงฐานเศรษฐกิจ ไปสู่ Knowledge based - การพัฒนาเศรษฐกิจในระดับ รากฐานควบคู่กับการส่งเสริม การส่งออก สินค้า และบริการ - การสร้างความรอบรู้ทาง ว&ท มิติทางด้านสังคม - การขาดคุณภาพในการพัฒนาสังคม - ปัญหา Corruption ทั้งรัฐและเอกชน - ปัญหาคุณภาพทางการศึกษา - กระแสวัตถุนิยม มิติทางด้านการเมือง - แรงผลักดันจากการปฏิรูปการเมืองและรัฐธรรมนูญ 2540 Public Sector Development Commission
วิสัยทัศน์ใหม่ของการพัฒนาระบบราชการไทยวิสัยทัศน์ใหม่ของการพัฒนาระบบราชการไทย พัฒนาระบบราชการไทยให้มีความเป็นเลิศ สามารถรองรับกับการพัฒนาประเทศในยุคโลกาภิวัตน์ โดยยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และประโยชน์สุขของประชาชน Public Sector Development Commission
เป้าประสงค์หลักของการพัฒนาระบบราชการไทยเป้าประสงค์หลักของการพัฒนาระบบราชการไทย พัฒนาคุณภาพ การให้บริการ ประชาชน ที่ดีขึ้น (better service quality) ปรับบทบาท ภารกิจ และขนาด ให้มีความ เหมาะสม (rightsizing) ตอบสนอง ต่อการบริหาร ปกครอง ในระบอบ ประชาธิปไตย (democratic governance) ยกระดับ ขีดความสามารถ ของข้าราชการ และมาตรฐาน การทำงาน ให้อยู่ในระดับสูง และเทียบเท่า เกณฑ์สากล (high performance) Public Sector Development Commission
เป้าประสงค์หลัก (ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์) ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบราชการไทยให้มีความเป็นเลิศ สามารถรองรับ กับการพัฒนาประเทศ ในยุคโลกาภิวัตน์ โดยยึดหลักการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี และประโยชน์สุข ของประชาชน พัฒนาคุณภาพการให้ บริการประชาชนที่ดีขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 2 ปรับบทบาทภารกิจ และ ขนาดให้มีความเหมาะสม ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยกระดับขีดความสามารถและ มาตรฐานการทำงานให้อยู่ ในระดับสูง และเทียบเท่าเกณฑ์สากล ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ที่ 6 ตอบสนองต่อการบริหารปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย ยุทธศาสตร์ที่ 7 Public Sector Development Commission
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย :ก้าวต่อไปของการพัฒนาระบบราชการไทย 1. การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน 2. การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน 3. การปรับรื้อระบบการเงินและการงบประมาณ 4. การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทน 5. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม 6. การเสริมสร้างความทันสมัย 7. การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม Public Sector Development Commission
Strategy Mapping การปรับเปลี่ยนกระบวนการ และวิธีการทำงาน การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน การปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม การรื้อปรับระบบ การเงินและการงบประมาณ การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่ การเสริมสร้าง ระบบราชการให้ทันสมัย การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม Public Sector Development Commission
ยุทธศาสตร์1: การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน มาตรการ 1. การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์(RBM) จัดทำแผนยุทธศาสตร์และแผนดำเนินงาน กำหนดตัววัดผลสัมฤทธิ์ระดับองค์การ / ระดับบุคคล 2. แผนยุทธศาสตร์: เป้าหมายในการเพิ่มประสิทธิ/ภาพคุณภาพการให้บริการ ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต และลดขั้นตอน 3. ระบบการควบคุมภายในของส่วนราชการให้ทันสมัย เน้นการตรวจสอบความคุ้ม ของการใช้เงิน (Value-for-money audit) 4. ให้มีข้อตกลงว่าด้วยผลงานประจำปี (Annual Performance Agreement) และมีการ ติดตามประเมินผลรายปี 5. ให้มีการทบทวนแผนยุทธศาสตร์และแผนดำเนินงานในลักษณะ mid-term review Public Sector Development Commission
ยุทธศาสตร์ 1: การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน มาตรการ (ต่อ) 6. การสำรวจและการรับฟังความเห็น/ การเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมโดยตรงใน กระบวนกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ตัวชี้วัด และการติดตามประเมินผล 7. ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่ล้าสมัย โดยเฉพาะการมอบอำนาจ การอนุมัติ อนุญาต และการสั่งการต่างๆ ให้เสร็จสิ้น ณ จุดให้บริการเดียวกัน 8. วางกติการให้มีการแข่งขัน โดยพยายามลดการผูกขาดของหน่วยงานราชการในการ เป็นผู้ให้บริการสาธารณะ (Contestability) 9. ให้มีการจัดทำแนวทางและคู่มือการบริหารราชการที่ดี Public Sector Development Commission
ยุทธศาสตร์ 2:การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน • มาตรการ • 1. .จัดระเบียบโครงสร้างการบริหารราชการในเชิงบูรณาการ แบบเมตริกซ์เชิงซ้อน โดยมีกลไกประสานการทำงาน • มิติกระทรวง + มิติพื้นที่ + มิติภารกิจนโยบาย • International Affairs Management & Coordination Agency • Internal Affairs Management & Coordination Agency • พัฒนาสำนักงานปลัดกระทรวงให้เป็น Corporate Core (Strategic & Administrative Function) • พัฒนาการบริหารกลุ่มภาระให้เป็นEffective Operational Core Public Sector Development Commission
ยุทธศาสตร์ 2:การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน มาตรการ (ต่อ) 2. ทบทวนการจัดโครงสร้างองค์การของกระทรวง-กรมต่างๆ ให้เหมาะสมมากขึ้น ** Lean Organization: Out sourcing ** ทบทวนภารกิจ/ ให้มี Non-government Service Provider/ ส่งเสริม ให้จัดตั้ง Autonomous Public Organization (APO) 3. พัฒนาจังหวัดเป็น High Performance Organization อำเภอเป็นจุดรวม บริการของรัฐ **ใช้ CEO Management ทุกจังหวัดทั่วประเทศ ** ทบทวนสถานะ และปรับโครงสร้างการบริหารของจังหวัดใหม่ เพื่อให้สนองนโยบายรัฐบาล และบริการประชาชนที่มีประสิทธิภาพ Public Sector Development Commission
ยุทธศาสตร์ 2:การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน มาตรการ (ต่อ) **พิจารณานำหลัก Competency-based Lateral Entry มาใช้ในการสรรหา และแต่งตั้งผู้บริหารระดับจังหวัด ** พัฒนาให้มี Provincial Operation Center: PCO **มีการประเมินคุณภาพการให้บริการ และความพึงพอใจของประชาชน ** ทบทวนการจัดบริการ (Modes of Service Delivery) ** จัดให้มี Regional Office เพื่อประสานการพัฒนาของกลุ่มจังหวัด Public Sector Development Commission
ยุทธศาสตร์ 3:การปรับรื้อระบบการเงินและการงบประมาณ มาตรการ 1. ปรับปรุงกระบวนการจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน ให้ยึดคำแถลงนโยบายของ คณะรัฐมนตรีต่อรัฐสภา/ยุทธศาสตร์ของรัฐบาลเป็นหลัก และเสริมสร้างภาระ รับผิดชอบในผลสัมฤทธิ์ (Accountability for Results) 2. ปรับเปลี่ยนระบบการงบประมาณให้สอดรับกับการบริหารราชการแนวใหม่ โดยเชื่อมโยงเข้ากับยุทธศาสตร์ของรัฐบาลและสามารถแสดงผลสัมฤทธิ์ได้ (Strategic Planning Performance-based Budgeting: SPPB) 3. เปิดโอกาสให้แต่ละส่วนราชการทำความตกลงเป็นการล่วงหน้า เพื่อสามารถใช้เงิน เหลือจ่าย (Cost Saving) พัฒนาองค์การหรือฝึกอบรมข้าราชการได้ 4. ให้มีการจัดทำบัญชีต้นทุน และเรียกเก็บ Capital Charge เพื่อป้องกันส่วนราช ใช้ประโยชน์ในทรัพย์สินไม่คุ้มค่า Public Sector Development Commission
ยุทธศาสตร์ 3:การปรับรื้อระบบการเงินและการงบประมาณ มาตรการ (ต่อ) 5. ให้ส่วนราชการจัดทำแผนการใช้จ่ายเงินรายเดือนหรือรายไตรมาส จัดทำงบดุล และรายงานทางการเงิน 6. ปรับปรุงระบบบัญชีของส่วนราชการให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานสากล โดยให้ สามารถคำนวณต้นทุนการบริหาร และต้นทุนบริการสาธารณะได้ 7. วางระเบียบเพื่อเปิดโอกาสให้แต่ละส่วนราชการสามารถดำเนินงานในเชิงพาณิชย์ บางส่วนเพื่อหารายได้ของตนเองไว้ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาองค์การและเสริมแรง จูงใจให้แก่บุคลากรในรูปของสวัสดิการ Public Sector Development Commission
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ยุทธศาสตร์ 4: การทบทวนระบบบุคคลและค่าตอบแทนใหม่ มาตรการ 1. เร่งสรรหาบุคลากรผู้มีความสามารถสูงหรือระดับหัวกะทิเข้าสู่ระบบราชการไทย โดยมุ่งเน้นให้เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงของการพัฒนาระบบราชการ 2. ทบทวนและปรับเปลี่ยนระบบการจำแนกตำแหน่ง (P.C.) และค่าตอบแทน 3. เพิ่มผลิตภาพ (Productivity) ของข้าราชการ 4. ให้แต่ละส่วนราชการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic HRD Plan) 5. ปรับปรุงขีดสมรรถนะของศูนย์เพิ่มทักษะและปรับเปลี่ยนบุคลากรภาครัฐ รวมทั้ง จัดให้มีตำแหน่งสำรองราชการขึ้นในระบบข้าราชการพลเรือน 6. พัฒนากลไกและกระบวนการในการรักษาและปกป้องระบบคุณธรรมในวงราชการ ให้มีความเหมาะสม Public Sector Development Commission
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ยุทธศาสตร์ 5: การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยมของระบบราชการ มาตรการ 1. สร้างรูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองของกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้บริหารระดับสูง (Empowerment) โดยเรียนรู้จากประสบการณ์ปฏิบัติจริง (Action Learning) 2. สร้างการมีส่วนร่วมในการค้นหากระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยมใหม่ ของระบบราชการที่เน้น ธรรมาภิบาล และการยอมรับประชาชนเป็นหลัก 3. ให้แต่ละส่วนราชการจัดทำคำแถลงค่านิยมสร้างสรรค์ ประกาศมาตรฐานทาง คุณธรรมและจริยธรรม เพื่อสร้างมโนสุจริต Public Sector Development Commission
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ยุทธศาสตร์6: การเสริมสร้างความทันสมัย(รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์) มาตรการ 1. ปรับปรุงส่วนราชการให้เป็น IT-base Organization และเป็น e-office * MIS, GIS & EMIS: GDI ระบบเดียวกัน และแลกเปลี่ยนกันได้ GDX * พัฒนาโปรแกรมประยุกต์กลาง ลดการซ้ำซ้อนลงทุน-ประหยัด 2. พัฒนา e-government ให้บริการประชาชนทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือรัฐบาล 24 ชั่วโมง * Government Gateway / บริการหลักที่ Citizen Portal / บริการของส่วนราชการ * ลดช่องว่างด้านเท็คโนโลยี (Digital Divide) 3. พัฒนาบริการสำนักงานให้สะดวก ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรม มีการแลกเปลี่ยน ข้อมูล(GDX) เป็น One-stop service Public Sector Development Commission
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ยุทธศาสตร์ 7: การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม มาตรการ 1. ให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาภาคประชาชน (lay board) ขึ้น โดยเฉพาะ ในระดับปฏิบัติการ (จังหวัด/อำเภอ) 2. วางหลักเกณฑ์ให้แต่ละส่วนราชการจัดให้มีระบบการปรึกษาหารือกับประชาชน การสำรวจหรือประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชน 3. ให้ทุกส่วนราชการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศที่มีความจำเป็นต่อการแสดงภาระ รับผิดชอบ ความโปร่งใสและเปิดเผยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานใน Website 4. ให้แต่ละส่วนราชการเปิดโอกาสให้มีอาสาสมัครภาคประชาชนเข้ามาร่วมปฏิบัติงาน กับข้าราชการ โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงการพัฒนา หรือการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ Public Sector Development Commission
หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดีหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี คุณธรรม ภาค ธุรกิจ เอกชน ภาค รัฐ ภาค ประชาชน มีส่วนร่วม คุ้มค่า รับผิดชอบ โปร่งใส นิติธรรม Public Sector Development Commission