210 likes | 348 Views
ผลการดำเนินงาน ของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ปี 2543 - 2546. โดย นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล เลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. วัตถุประสงค์หลักสากลในการกำกับดูแลตลาดทุน.
E N D
ผลการดำเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.ปี 2543 - 2546 โดย นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล เลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
วัตถุประสงค์หลักสากลในการกำกับดูแลตลาดทุนวัตถุประสงค์หลักสากลในการกำกับดูแลตลาดทุน • สร้างความมั่นใจว่ากลไกในตลาดทุนมีความเป็นธรรมประสิทธิภาพและโปร่งใส (ensuring that markets are fair, efficient and transparent) • ลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในระบบตลาดทุน (reduction of systemic risk) • ปกป้องผู้ลงทุนจากการกระทำที่ไม่เหมาะสม (protect investors against possible improper conduct)
บทบาทขององค์กรกำกับดูแลตลาดทุนบทบาทขององค์กรกำกับดูแลตลาดทุน • ตลาดทุนในทุกประเทศ : กำกับดูแลให้กลไกในตลาดทุนทำงานอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรม • ตลาดทุนของประเทศที่กำลังพัฒนา : กำกับดูแล + พัฒนาองค์ประกอบที่จะสนับสนุนให้กลไกตลาดทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ภาวะเศรษฐกิจและสภาพตลาดทุนก่อนปี 2543 เป็นช่วงต่อเนื่องจากวิกฤตเศรษฐกิจ • ฐานะบริษัทจดทะเบียน (strong 110/ moderate 168 /weak 57 : รวม 335 บริษัท) • NPL ในระบบสถาบันการเงิน (ธนาคาร 2,004,291ล้านบาท / บริษัทเงินทุน 90,133 ล้านบาท : รวม 2,094,424 ล้านบาท) • มูลค่าซื้อขายหลักทรัพย์(ปี 42 มูลค่าการซื้อขาย 1,609,787.16 ล้านบาท เฉลี่ยวันละ 6,570.56 ล้านบาท) • จำนวนและมูลค่า IPO(IPO ตราสารทุนไม่มี / PO ตราสารหนี้ 3 พันล้านบาท) /PO ตราสารทุน และ PP ตราสารหนี้ มีมาก) • ผู้ฝากเงินใน ธพ. (46,499,981 บัญชี) ผู้ลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ (52,649 บัญชี)
ภาวะเศรษฐกิจและสภาพตลาดทุนก่อนปี 2543 (ต่อ) เป็นช่วงต่อเนื่องจากวิกฤตเศรษฐกิจ • MSCI ลดน้ำหนัก (ลดจาก 5.30 เมื่อ 1 กค. 42 เหลือ 2.07 เมื่อ 31 กค. 43) • เข็ดขยาดจากการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์และกองทุนรวม • พบการทำทุจริตของผู้บริหารบริษัทจดทะเบียน • บริษัทหลักทรัพย์แข่งขันเรื่องราคา โดยไม่ให้ความสำคัญ กับคุณภาพการให้บริการ
บทบาทของก.ล.ต. 2543 - 2546 กำกับ พัฒนา ช่วยให้ตลาดทุนเป็นประโยชน์ต่อการแก้ปัญหา โดยมีบทบาทหลัก 4 ประการคือ 1. สร้างความเชื่อมั่นว่ากลไกในตลาดทุนมีความเป็นธรรมมีประสิทธิภาพและโปร่งใส 2. กำกับดูแลตัวกลางในตลาดทุนเพื่อลดความเสี่ยงในระบบและป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อการซื้อขายหลักทรัพย์ 3. พัฒนาโครงสร้างในตลาดทุนเพื่อรองรับการเติบโตและเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ตลาดทุน 4. พัฒนาการทำงานภายในเพื่อเป็นองค์กรที่มีคุณภาพซื่อตรงโปร่งใสและเข้าใจธุรกิจ
ผลการดำเนินงานปี 2543 - 2546 1. สร้างความเชื่อมั่นว่ากลไกในตลาดทุนมีความเป็นธรรมมีประสิทธิภาพและโปร่งใส 1.1 สร้างแรงกระตุ้นให้ผู้ที่เกี่ยวข้องตระหนักถึงคุณค่าของการ มีบรรษัทภิบาลที่ดี(คณะกรรมการบรรษัทภิบาลแห่งชาติการจัดอันดับ การมีบรรษัทภิบาลที่ดี roadshow เข้าร่วม CG ROSCs แนวปฏิบัติของ บลจ. และคณะกรรมการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ) 1.2 ผลักดันให้มีการนำมาตรฐานสากลมาใช้กับการเปิดเผยข้อมูล และการจัดทำบัญชี(Disclosure Report Award MD&A รายไตรมาส ตรวจทานรายงานผู้สอบบัญชีในงบการเงินของทุกบริษัททุกไตรมาส ให้มีผู้เชี่ยวชาญอิสระช่วยกลั่นกรองข้อมูลให้ผู้ลงทุน)
ผลการดำเนินงานปี 2543 – 2546(ต่อ) 1. สร้างความเชื่อมั่นว่ากลไกในตลาดทุนมีความเป็นธรรม มีประสิทธิภาพและโปร่งใส 1.3 ส่งเสริมบทบาทของกรรมการให้มีความรับผิดชอบและปฏิบัติหน้าที่ อย่างเหมาะสม(กำหนดเกณฑ์เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของกรรมการ ตรวจสอบ คู่มือกรรมการสนับสนุน IOD) 1.4 พัฒนากฎหมายที่เอื้อต่อการคุ้มครองผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุน(ปรับปรุงพ.ร.บ. หลักทรัพย์ฯเพื่อกำหนดหน้าที่กรรมการ ปรับปรุงพ.ร.บ. บริษัทมหาชนฯเพื่อเพิ่มช่องทางการใช้สิทธิของผู้ถือหุ้น เสนอกฎหมายclass action และ trust law ปรับปรุงเกณฑ์การทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน)
ผลการดำเนินงานปี 2543 – 2546(ต่อ) 1. สร้างความเชื่อมั่นว่ากลไกในตลาดทุนมีความเป็นธรรม มีประสิทธิภาพและโปร่งใส 1.5 ส่งเสริมให้การบังคับใช้กฎหมายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ (มาตรการ ปรับปรุงกระบวนการดำเนินคดีของคณะกรรมการบรรษัทภิบาลแห่งชาติ แลกเปลี่ยนความรู้กับสถาบันต่างๆในกระบวนการยุติธรรม) สรุปการดำเนินการทางบริหาร * สำนักงานคณะกรรมการก.ล.ต. รับโอนงานการกำกับดูแลเจ้าหน้าที่การตลาดจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2544
สรุปการดำเนินการทางอาญาสรุปการดำเนินการทางอาญา
ผลการดำเนินงานปี 2543 – 2546(ต่อ) 1. สร้างความเชื่อมั่นว่ากลไกในตลาดทุนมีความเป็นธรรม มีประสิทธิภาพและโปร่งใส 1.6 แก้ไขเกณฑ์เกี่ยวกับการระดมทุนในตลาดทุนให้มีความสะดวกลดภาระ แก่ภาคธุรกิจโดยยังคงยึดหลักการเปิดเผยข้อมูลและความเป็นธรรม 1.7 สนับสนุนการแก้ไขเกณฑ์ที่ช่วยสนับสนุนการแก้ไขปัญหาของภาคธุรกิจ เช่นธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และบริษัทจดทะเบียน(กอง 2-4 ช่วยแก้พ.ร.บ. มหาชน)
ผลการดำเนินงานปี 2543 – 2546(ต่อ) 2. การกำกับดูแลตัวกลางในตลาดทุนเพื่อลดความเสี่ยงในระบบ และป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อการซื้อขายหลักทรัพย์ 2.1 กำกับดูแลบริษัทหลักทรัพย์ให้มีฐานะทางการเงินที่มั่นคง(ให้ความสำคัญกับความเพียงพอของเงินกองทุนนำ RBA มาใช้ในการ กำกับดูแลให้กองทุนเปิดกู้ยืมเงินและทำ repo ) 2.2 ติดตามดูแลระบบการบริหารความเสี่ยงของสำนักหักบัญชีให้มีมาตรการ ในการกำกับดูแลสมาชิกและมีเงินทุนเพียงพอที่จะรองรับกรณีผิดนัด ชำระหนี้
ผลการดำเนินงานปี 2543 – 2546(ต่อ) 2. การกำกับดูแลตัวกลางในตลาดทุนเพื่อลดความเสี่ยงในระบบ และป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อการซื้อขายหลักทรัพย์ 2.3 ให้อำนาจตลาดหลักทรัพย์ฯสั่งห้ามบริษัทหลักทรัพย์ให้ลูกค้า ทำ net settlement และห้ามบริษัทหลักทรัพย์ส่งคำสั่งซื้อขายให้ลูกค้า ที่มีการซื้อขายผิดปกติ 2.4 ออกมาตรการ net settlement เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับ บริษัทหลักทรัพย์กรณีลูกค้าไม่สามารถชำระค่าซื้อและลูกค้าใช้วงเงิน เกินกำลังซื้อ
ผลการดำเนินงานปี 2543 – 2546(ต่อ) 3. การพัฒนาโครงสร้างในตลาดทุนเพื่อรองรับการเติบโต และเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ตลาดทุน 3.1 สินค้า 3.2 ผู้ลงทุนและช่องทางการเข้าถึงของผู้ลงทุน 3.3 ตลาดรอง
ผลการดำเนินงานปี 2543 – 2546(ต่อ) 3. การพัฒนาโครงสร้างในตลาดทุนเพื่อรองรับการเติบโต และเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ตลาดทุน 3.1 สินค้า - เพิ่มความหลากหลายของสินค้าให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ลงทุน แต่ละกลุ่ม (กองทุนรวมประเภทต่างๆ NVDR) - เพิ่มสินค้าที่ใช้ในการบริหารความเสี่ยงนอกเหนือจากที่ใช้ในการระดมทุน(หุ้นกู้อนุพันธ์พ.ร.บ. สัญญาซื้อขายล่วงหน้า)
ผลการดำเนินงานปี 2543 – 2546(ต่อ) 3. การพัฒนาโครงสร้างในตลาดทุนเพื่อรองรับการเติบโต และเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ตลาดทุน 3.2 ผู้ลงทุนและช่องทางการเข้าถึงของผู้ลงทุน - การเพิ่มผู้ประกอบการ (ใบอนุญาตประกอบธุรกิจจัดการกองทุนรวมเพิ่ม การให้ใบอนุญาต limited BDU) - สนับสนุนการออมระยะยาวผ่าน RMF unit link และกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ(ปรับปรุงเกณฑ์ PVD ให้เป็นมาตรฐานเดียวกับกองทุนรวมให้ความรู้แก่ คณะกรรมการกองทุนรวมให้มี pooled fund, employee’s choice) - อำนวยความสะดวกในการซื้อขายหลักทรัพย์ (ให้ซื้อขายหน่วยลงทุน ทาง electronic ผ่านธพ . internet trading)
ผลการดำเนินงานปี 2543 – 2546(ต่อ) 3. การพัฒนาโครงสร้างในตลาดทุนเพื่อรองรับการเติบโต และเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ตลาดทุน 3.2 ผู้ลงทุนและช่องทางการเข้าถึงของผู้ลงทุน - ปรับปรุงกฎเกณฑ์เพื่อเพิ่มกลไกในการปกป้องตนเองให้แก่ผู้ลงทุน(เกณฑ์ take over เกณฑ์การขายหลักทรัพย์ในราคาต่ำกว่าราคาตลาด เกณฑ์การขาย warrant) - ให้ความรู้แก่ผู้ลงทุน (จัดกิจกรรมให้ความรู้ต่างๆมอบเงินแก่โครงการ“ให้เงินทำงานผ่านกองทุนรวม” สนับสนุนการจัดทำข้อมูลกองทุนรวม เชิงเปรียบเทียบเผยแพร่ข้อมูลใน website สำนักงาน)
ผลการดำเนินงานปี 2543 – 2546(ต่อ) 3. การพัฒนาโครงสร้างในตลาดทุนเพื่อรองรับการเติบโต และเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ตลาดทุน 3.2 ผู้ลงทุนและช่องทางการเข้าถึงของผู้ลงทุน - ขึ้นทะเบียนบุคคลที่ติดต่อหรือให้คำแนะนำแก่ผู้ลงทุนเพื่อให้มั่นใจว่า เจ้าหน้าที่ดังกล่าวสามารถให้คำแนะนำได้อย่างเหมาะสม(ตัวแทนขาย หน่วยลงทุน 7,160 รายเจ้าหน้าที่การตลาด 6,561 รายผู้ให้คำแนะนำการ ลงทุนในหลักทรัพย์ 46 ราย ตัวแทนการตลาดหรือผู้วางแผนการลงทุน กองทุนส่วนบุคคล 1,134 ราย) - ออกเกณฑ์เพื่อกำหนดให้ผู้ที่จะให้คำแนะนำการลงทุนแก่ผู้ลงทุนต้องทำsuitability - จัดตั้งกระบวนการอนุญาโตตุลาการเพื่อเป็นช่องทางเยียวยาความเสียหาย ที่สะดวกและประหยัดค่าใช้จ่าย
ผลการดำเนินงานปี 2543 – 2546(ต่อ) 3. การพัฒนาโครงสร้างในตลาดทุนเพื่อรองรับการเติบโต และเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ตลาดทุน 3.3 ตลาดรอง - การสร้างความโปร่งใสในตลาดตราสารหนี้ (กำหนดให้จัดอันดับความ น่าเชื่อถือของหุ้นกู้ ให้ผู้ค้าตราสารหนี้รายงานข้อมูลการซื้อขายแก่ ศูนย์ซื้อขายตราสารหนี้ไทย) - การเพิ่มสภาพคล่องให้แก่ตลาดตราสารหนี้ (ให้ใบอนุญาต IDB) - การเพิ่มสินค้าในตลาดตราสารหนี้ (แก้ไขกฎหมาย securitisation เพื่อแก้อุปสรรคในการทำธุรกรรม) - การปรับปรุงการดำเนินงานของตลาดหลักทรัพย์ (ปรับโครงสร้าง คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ ทำ MOU ร่วมกัน)
ผลการดำเนินงานปี 2543 – 2546(ต่อ) 4. การพัฒนาการทำงานภายใน เพื่อเป็นองค์กรที่มีคุณภาพ ซื่อตรง โปร่งใส และเข้าใจธุรกิจ 4.1 เสนอแก้ไขกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์เพื่อปรับโครงสร้างคณะกรรมการ ก.ล.ต. 4.2 ปรับโครงสร้างองค์กรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกำกับดูแลผู้ทำหน้าที่ ติดต่อกับผู้ลงทุน และปรับบทบาทของส่วนงานหลักให้เหมาะสมยิ่งขึ้น 4.3 นำระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานและค่างานมาใช้ให้เป็นเครื่องมือ ในการติดตามผลการปฏิบัติงานและการปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ของการทำงาน 4.4 จัดตั้งโครงการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการให้บริการ
บทส่งท้าย ในระยะยาวได้ต้องให้น้ำหนักกับเรื่องดังต่อไปนี้ 1. การขยายฐานผู้ลงทุนทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ 2. การกระจุกตัวของรายได้บริษัทหลักทรัพย์ที่มาจากการเป็น นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ไม่มีการกระจายการทำธุรกิจ 3. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเช่นข้อมูลด้านงานวิจัยวิเคราะห์ หลักทรัพย์ธุรกรรมที่ช่วยเสริมสร้างสภาพคล่องเช่น SBL repo เครื่องมือบริหารความเสี่ยง การกำกับดูแลกิจการที่ดีการบังคับใช้ กฎหมาย