330 likes | 553 Views
“ AEC ยุคทองขนส่งไทย สร้างกำไรสู่เวทีโลก ”. โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ เลขาธิการสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันที่ 20 มิถุนาย 2556 ณ ห้อง Infinity ชั้น 1 โรงแรมพูลแมน บางกอก คิง พาวเวอร์ วันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน 2556. www.tanitsorat.com. AEC : ASEAN ECONOMIC COMMUNITY
E N D
“AEC ยุคทองขนส่งไทย สร้างกำไรสู่เวทีโลก ” โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ เลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันที่ 20 มิถุนาย 2556 ณ ห้อง Infinity ชั้น 1 โรงแรมพูลแมน บางกอก คิง พาวเวอร์ วันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน 2556 www.tanitsorat.com
AEC : ASEAN ECONOMIC COMMUNITY จุดเปลี่ยนประเทศไทยโอกาสและความท้าทาย neighbor Investment Free Trade & Investment Across the Asean countries Co-Tourism Free Trade Cross border Trade Logistics Free Flow??? Finance Free Free Flow of Business & Investment Immigrant Labour Borderless Economy Skill Labour Free www.tanitsorat.com
HOW TO CONNECT SINGLE MARKET ?? East India REAL ECONOMIC CONNECTIVITY South China TRADE-SERVICE-INVESMENT ACROSS AEC BORDER LOCAL BUSINESS CONNECT TO INTERNATIONAL REGIONAL LOGISTICS CONNECTIVITY www.tanitsorat.com
AEC CONNECTIVITY: • การเชื่อมโยงกับเส้นทางในภูมิภาค • การเชื่อมโยงการค้า • การเชื่อมโยงการลงทุน • การเชื่อมโยงภาคบริการ • การเชื่อมโยงด้านการท่องเที่ยว • การเชื่อมโยงด้านโทรคมมนาคม • การเชื่อมโยงด้านพลังงาน • การเชื่อมโยงValue Chain www.tanitsorat.com
What is…AEC Connectivity ?? Single Market & Production Base Connectivity การเชื่อมโยงตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน People to People Connectivity การเชื่อมโยงประชาชนและการท่องเที่ยวร่วมกัน Infrastructure Connectivity การเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมขนส่งของภูมิภาค ทั้งมีท่าเรือ สนามบิน ถนน ทางรถไฟ สะพาน Telecommunication การเชื่อมโยงการสื่อสารทั้งด้านข้อมูลและมัลติมีเดีย Regional Cross Border Transport Connectivity การเชื่อมโยงขนส่งข้ามแดนในภูมิภาค Law & Regulation Connectivity การเชื่อมโยงกฎระเบียบของแต่ละประเทศสมาชิกซึ่งแตกต่างกัน Transport & Shift Mode การเชื่อมโยงระบบการเปลี่ยนโหมดการขนส่งต้นทุนต่ำข้ามแดนระหว่างประเทศ www.tanitsorat.com
AEC Single Production Baseการเป็นฐานการผลิตร่วมกันต้องอาศัยการเชื่อมโยงด้านโลจิสติกส์ การตื่นตัวย้ายฐานการผลิตของไทย ทั้งภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม ภาคการค้า-บริการของไทย เริ่มที่จะมีแนวคิดการย้ายฐานการผลิตไปสู่ประเทศเพื่อนบ้านที่มีต้นทุนการผลิตที่ต่ำกว่าไทย นโยบายค่าจ้างสูงและการขาดแคลนแรงงานอย่างรุนแรง โดยตัวเลขการว่างงานปี 2555 อัตราว่างงานอยู่เพียงร้อยละ 0.6 – 0.7 กอปรทั้งนโยบายค่าจ้าง 300 บาททั่วประเทศ ทำให้บางอุตสาหกรรมต้องย้ายฐานการผลิต การขาดแหล่งวัตถุและทรัพยากรธรรมชาติ จำเป็นที่จะต้องแสวงหาแหล่งผลิตใหม่ซึ่งมีทรัพยากรที่พอเพียงและมีราคาที่ต่ำกว่าการผลิตในประเทศ ขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตในประเทศ จะเป็นปัจจัยที่ภาคอุตสาหกรรมจะต้องมีการย้ายฐานการผลิต เช่นด้าน ผังเมือง,ชุมชนการตื่นตัวด้านสิ่งแวดล้อม, ข้อจำกัดของกฎหมายกฎระเบียบของรัฐและการเสียสิทธิ์ด้านGSP รวมทั้ง NTB และ NGO www.tanitsorat.com
การเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ส่งเสริมต่อการเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภูมิภาค Regional LogisticsHub ไทยเป็นศูนย์กลางของระเบียงเศรษฐกิจ GMS 1. North-South Economic Corridor (NSEC) 2. East-West Economic Corridor (EWEC) 3. South Economic Corridor (SEC) www.tanitsorat.com
CrossBorder Transport Key Achievement การการข่นส่งข้ามแดนหัวใจแห่งความสำเร็จสู่ AEC www.tanitsorat.com ที่มา: กระทรวงคมนาคม
ประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า ตัวเลขทางเศรษฐกิจ GDP : 82.0 พันล้านเหรียญสหรัฐ มีการเติบโตร้อยละ 5.3 มีรายได้ต่อประชากรต่อปี 855 เหรียญสหรัฐ การค้าชายแดนกับประเทศไทยปี 2555 นำเข้า 110,496ล้านบาท ส่งออก 69,976 ล้านบาท ประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ หรือ พม่า เป็นประเทศเพื่อนบ้าน อยู่ภายใต้โครงข่ายเศรษฐกิจ “East-West Economic Corridor” มีเนื้อที่ 676,578 ตร.กม. ประชากรประมาณ 60 ล้านคน www.tanitsorat.com
ด่านชายแดนซึ่งมีศักยภาพ ไทย-เมียนม่าร์ ด่านแม่สาย-ท่าขี้เหล็ก-ตองจี-เนปิดอร์ (จ.เชียงราย) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 115.81 ล้านบาท ส่งออก 9,443.06 ล้านบาท ด่านแม่สอด-เมียวดี-ร่างกุ้ง (จ.ตาก) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 1,410.58 ล้านบาท ส่งออก 37,966.31 ล้านบาท ด่านพุน้ำร้อน-ทิกกี้-ทวาย-เยห์ (จ.กาญจนบุรี) ด่านสิงขร-มะริด (จ.ประจวบคีรีขันธ์) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 27.34 ล้านบาท ส่งออก 47.36 ล้านบาท ท่าเรือระนอง -เกาะสอง (จ.ระนอง) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 1,801.02 ล้านบาท ส่งออก 18,195.41ล้านบาท ท่าเรือทวาย
การเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานของประเทศเมียนม่าร์การเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานของประเทศเมียนม่าร์ ถนนสายหลักของพม่า 1. ถนนหมายเลข 85 เมียวดี-ย่างกุ้ง (EAST) แม่สอด-เมียวดี-กอกะเร็ก-ผาอัน-เมาะลำไย-ตะโก่ง-พะโค-ย่างกุ้ง 2. ถนนหมายเลข 1 ย่างกุ้ง-ชายแดนจีน (WEST) ย่างกุ้ง – พะยายี – ตองอู – เยอมานา – มิติลา – มัณฑะเลย์ (อมรปุระ) ไปถึงถนนหมายเลข 3 – ลาโช – มูเซ่ จนไปถึงเมืองรุ่ยลี่ (ชายแดนประเทศจีน) ไปเชื่อมกับเส้นทางในประเทศจีนที่มณฑลยูนนาน 2. ถนนหมายเลข 2ย่างกุ้ง-ชายแดนอินเดีย (WEST)จากย่างกุ้ง – พะโค – แปร – พุกาม – มาเกว – กะเลเมียง – ตามู – ชายแดนประเทศอินดีย – เมืองมณีปุระ 3. ทางหลวงพิเศษ ย่างกุ้ง-เนย์ปิดอว์ สำหรับเส้นทางเชื่อมโยงกับนครเนย์ปิดอว์ จากกรุงย่างกุ้ง ใช้เส้นทางพิเศษคล้ายมอเตอร์เวย์ของไทย เป็นทางหลวงพิเศษขนาด 8 ช่องจราจร จากย่างกุ้งถึงนครเนย์ปิดอว์ ระยะทาง 323.3 กิโลเมตร และระยะทางจากย่างกุ้งถึงเมืองมัณฑะเลย์ 563 กิโลเมตร (แต่ช่วงเลยจากนครเนย์ปิดอว์ ถนนจะแคบ) 4. เส้นทางหลวงหมายเลข 8 ย่างกุ้ง-เมืองเยห์ (South) จากย่างกุ้งแยกจากเส้นทางหมายเลข 1 ที่เลยจากเมืองพะโค (หงสาวดี) ประมาณ 60-70 กิโลเมตร ผ่านเมืองสำคัญเข้าเมืองตะโถว เมืองเมาะลำไย เมืองเยห์ เมืองทวาย เมืองมะริด และเมืองเกาะสอง (บางช่วงใช้งานได้เฉพาะในหน้าแล้ง) 5. เส้นทางพุน้ำร้อน(กาญจนบุรี) – ทวาย ระยะทาง 145 กม.อยู่ระหว่างก่อสร้างเส้นทางใช้ได้บางช่วงในฤดูแล้ง 6. เส้นทางด่านสิงขร (ประจวบคีรีขันธ์) –มะริด ระยะทางประมาณ 130 กม. www.tanitsorat.com
โครงสร้างท่าเรือในประเทศพม่าโครงสร้างท่าเรือในประเทศพม่า ท่าเรือ Asia World Port Terminal และท่าเรือทิลาวา บนแม่น้ำย่างกุ้ง น้ำลึก 9.9 เมตร www.tanitsorat.com
สนามบินภายในประเทศของพม่าสนามบินภายในประเทศของพม่า สนามบินนานาชาติที่นครย่างกุ้ง สายการบิน Direct Flight ให้บริการเชื่อมโยงกับประเทศต่างๆ ในภูมิภาค ธนาคารต่างชาติให้บริการในพม่า สนามบินทวาย www.tanitsorat.com
โครงการก่อสร้างท่าเรือทวายในประเทศพม่า รัฐบาลไทย-พม่า ลงทุนร้อยละ 50:50 www.tanitsorat.com
ประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หรือ สปป.ลาว อยู่ภายใต้โครงข่าย “East-West Economic Corridor” มีเนื้อที่ 236,880 ตร.กม. มีประชากร 6,835,345 คน ตัวเลขทางเศรษฐกิจ GDP : 8,297.66 ล้านเหรียญสหรัฐ มีการเติบโตร้อยละ 8-10 มีรายได้ต่อประชากรต่อปี 2,866 เหรียญสหรัฐ การค้าชายแดนกับประเทศไทยปี 2555 นำเข้า 22,957.14 ล้านบาท ส่งออก 109,059.22 ล้านบาท www.tanitsorat.com
โครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงไทย – สปป.ลาว –เวียดนาม - จีนตอนใต้ ด่านนครพนม-คำม่วน-วิงข์ (เวียดนาม) รถไฟ ไทย-ลาว หนองคาย-ท่านาแล้ง ด่านช่องเม็ก – ปากเซ (สปป.ลาว) – สะหวายเรียง(กัมพูชา) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 1,628.72ล้านบาท ส่งออก 9,396.45 ล้านบาท ด่านศุลกากรหนองคาย-เวียงจันทน์มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 1,998.73 ล้านบาท ส่งออก 61,349.80 ล้านบาท ด่านมุกดาหาร – สะหวันนะเขต-ด่งฮา(เวียดนาม) - ลังซอน- ผิวเซียง-หนานหนิง(จีน)มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 16,670.24 ล้านบาท ส่งออก 12,006.95 ล้านบาท ด่านเชียงของ – คุณหมิง (R3E) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 540.08 ล้านบาท ส่งออก 4,265.94 ล้านบาท เส้นทาง R12 – ท่าเรือวิงช์ (เวียดนาม)
ประเทศราชอาณาจักรกัมพูชาประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา ประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นประเทศอยู่ภายใต้โครงข่ายเศรษฐกิจ “South Economic Corridor” มีพื้นที่ 181,035 ตร.กมประชากร 14,805,000 คน ตัวเลขทางเศรษฐกิจ GDP : 12,875.31 ล้านเหรียญสหรัฐ มีการเติบโตร้อยละ 6.9 มีรายได้ต่อประชากรต่อปี 931เหรียญสหรัฐ การค้าชายแดนกับประเทศไทยปี 2555 นำเข้า 7,167.55 ล้านบาท ส่งออก 74,921.52 ล้านบาท www.tanitsorat.com
โครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงไทย-กัมพูชาโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงไทย-กัมพูชา ด่านอรัญประเทศ – ปอยเปต-ศรีโสภณ (กัมพูชา) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 3,143.17 ล้านบาท ส่งออก 44,976.38 ล้านบาท ด่านหาดเล็ก (ตราด)– เกาะกง (กัมพูชา) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 482.58 ล้านบาท ส่งออก 24,454.14 ล้านบาท ท่าเรือสีหนุวิวล์ www.tanitsorat.com
โครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงไทย-มาเลเซียโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงไทย-มาเลเซีย ด่านสะเดา จ.สงขลา การค้าชายแดน นำเข้า 165,815.88 ล้านบาท ส่งออก 144,236.46 ล้านบาท ด่านปาดังเบซาร์ จ.สงขลา การค้าชายแดน นำเข้า 165,815.88 ล้านบาท ส่งออก 42,675.08 ล้านบาท ท่าเรือปีนัง ประเทศมาเลเซีย ด่านประกอบ จ.สงขลา www.tanitsorat.com
โอกาสประเทศไทยปี 2020โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเชื่ยมโยงประเทศเพื่อนบ้าน งบลงทุน 2.0 ล้านล้านปี 2556 – 2563 ลงทุนระบบราง 82.92 % ลงทุนทางถนน 14.47 % ลงทุนทางน้ำ 1.49 % พัฒนาด่านชายแดน 0.61 % www.tanitsorat.com
เป้าหมายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน งบลงทุน 2.0 ล้านล้านบาท (ปี 2556 – 2563) www.tanitsorat.com ต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP ลดลงจากปัจจุบัน ไม่น้อยกว่า 2% (ปัจจุบัน 15.2%) สัดส่วนผู้เดินทางระหว่างจังหวัดโดยรถยนต์ส่วนตัว ลดลงจาก 59% เหลือ 40% ความเร็วเฉลี่ยของรถไฟขนส่งสินค้า เพิ่มขึ้นจาก 39 กม. / ชม. เป็น 60 กม. / ชม. และขบวนรถไฟโดยสาร เพิ่มขึ้นจาก 60 กม. / ชม. เป็น 100 กม. / ชม. สัดส่วนการขนส่งสินค้าทางรางเพิ่มขึ้นจาก 2.5% เป็น 5% สัดส่วนการขนส่งสินค้าทางน้ำเพิ่มขึ้นจาก 15% เป็น 19% ลดความสูญเสียจากน้ำมันเชื้อเพลิง ไม่น้อยกว่า 100,000 ล้านบาท / ปี สัดส่วนการเดินทางรถไฟฟ้าเพิ่มขึ้นจาก 5% เป็น 30% ปริมาณการขนส่งสินค้า เข้า-ออก ณ ด่านการค้าชายแดนสำคัญ เพิ่มขึ้น 5% ปริมาณผู้โดยสารทางรถไฟเพิ่มขึ้น จาก 45 ล้านคน-เที่ยว / ปี เป็น 75 ล้านคน-เที่ยว / ปี ลดระยะเวลาการเดินทางจาก กทม. ไปยังเมืองภูมิภาค ด้วยรถไฟความเร็วสูงในรัศมี 300 กม. รอบกรุงเทพมหานคร ในระยะเวลาไม่เกิน 90 นาที จากเดิมที่ใช้ระยะเวลาเฉลี่ยประมาณ 3 ชั่วโมง www.tanitsorat.com
ระบบการขนส่งด้วยระบบรางทางคู่ทั่วประเทศ เชื่อมโยงชายแดนทั้ง 4 ภาค • ภาคเหนือ • เชียงของ • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • หนองคาย • มุกดาหาร • นครพนม ภาคตะวันออก ภาคกลาง • ภาคใต้ • ปาดังเบซาร์ www.tanitsorat.com
Thailand 2020 Logistics Service is Key Achievement Modal Shift Multimodal การเชื่อมโยงและเปลี่ยนโหมดขนส่งสินค้าซึ่งมีต้นทุนต่ำ Connectivity การเชื่อมโยงกับภาคเศรษฐกิจจริงทั้นด้านการค้า-การลงทุน-บริการ ผู้ประกอบการให้บริการโลจิสติกส์ HRDการพัฒนาทรัพยากรบุคคลและการยกระดับองค์กรความรู้ท้องถิ่น Trade Facilitation & CBTAด้านการบริหารจัดการและกฎระเบียบที่เอื้อต่อการขนส่งข้ามแดน
การเตรียมพร้อมของธุรกิจบริการโลจิสติกส์ (ไทย)ภายใต้ AEC CLEAR VISSION : วิสัยทัศน์ เห็นโอกาสและความท้าทายภายใต้ AEC SWOT ANALYSIS : วิเคราะห์ศักยภาพของธุรกิจ(จุดแข็งและจุดอ่อน) BUSINESS DIRECTION : กำหนดทิศทางธุรกิจให้ชัดเจนว่าจะไปทางไหน STRATEGYPLAN : มีแผนกลยุทธ์ในระยะกลางและระยะยาว Business & Network Development : การพัฒนาธุรกิจและเครือข่าย INTERNATIONAL COMPETTITIVENESS : สามารถแข่งขันได้ในระดับนานาชาติ www.tanitsorat.com
การปรับตัวของธุรกิจบริการโลจิสติกส์ ต้องมีแผนและ Business Plan www.tanitsorat.com
ปัญหาศักยภาพของผู้ประกอบการบริการโลจิสติกส์ไทยบนบริบทของ AEC การบริหารจัดการไม่เป็นสากล ขาดบุคลากรที่มีความสามรถ ส่วนใหญ่เป็นธุรกิจขนาดเล็ก การบริหารแบบครอบครัว ทำให้มีข้อจำกัดในการให้บริการบริษัทข้ามชาติ ไม่สามารถให้บริการแบบครบวงจร (Integrated Logistics Service Provider) เชี่ยวชาญงานเฉพาะด้านและมีขีดจำกัดในการให้บริการ ส่วนใหญ่แยกการให้บริการเป็นแต่ละส่วนงานโลจิสติกส์ ขาดความสะดวกและยุ่งยากในการใช้บริการ ขาดเครือข่ายไม่สามารถให้บริการในลักษณะที่เป็น Door to Door Service เพราะขาดเครือข่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ Non-Asset Logistics Service เป็นผู้ให้บริการที่ไม่มีคลังสินค้า รถบรรทุก เครื่องมืออุปกรณ์ในการให้บริการ ทำให้รับงานได้เฉพาะงานให้บริการพื้นฐาน เช่น งานชิปปิ้ง งานตัวแทนหรือนายหน้า งานเอกสาร เป็นต้น ต้นทุนต่อหน่วยสูงทำให้แข่งขันไม่ได้ เพราะขาดอำนาจต่อรอง และต้องไปว่าจ้าง Subcontract ขาดโอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุนราคาถูก เพราะไม่มีหลักประกันและระบบบัญชีไม่น่าเชื่อถือ มีข้อจำกัดในการเข้าเป็นโซ่อุปทานกับคู่ค้า การพัฒนาขาดความเชื่อมโยงกันระหว่างภาคการผลิตกับภาคผู้ให้บริการโลจิสติกส์ การพัฒนาที่ผ่านมา ด้านผู้ให้บริการกับผู้ใช้บริการไม่มีการเชื่อมโยง การพัฒนาเป็นแบบคู่ขนาน ขาดการบูรณาการและขาดองค์กรกลางที่เข้มแข็ง สมาคมที่เกี่ยวข้องกับผู้ให้บริการโลจิสติกส์มีอยู่เป็นจำนวนมาก ต่างดำเนินธุรกรรมโดยไม่เชื่อมโยงกัน ขาดการพัฒนาและภาครัฐไม่เข้าใจ ตามตัวเลขของกระทรวงพาณิชย์ แจ้งว่ามีเกือบ 20,000 ราย ธุรกิจเหล่านี้แข่งขันไม่ได้ จำเป็นจะต้องมียุทธศาสตร์ มีเจ้าภาพอย่างแท้จริง www.tanitsorat.com
Logistics Service Big Playerแบ่งตามศักยภาพการแข่งขัน www.tanitsorat.com
แนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขันและเข้าถึงโอกาสภายใต้ AEC (1) • การส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคเอกชนไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขัน : Competitiveness • ผู้ประกอบการไทยส่วนใหญ่เป็น SME การให้บริการโลจิสติกส์เพียงด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น • ภายใต้การเปิด AEC หากจะให้สามารถแข่งขันได้ จำเป็นจะต้องมีการรวมกลุ่มกันให้บริการแบบ Integrated Logistics Service Provider เพื่อให้สามารถให้บริการโลจิสติกส์ได้แบบครบวงจร • สนับสนุนให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสร้าง LSP Best Practice Model • ส่งเสริมให้มีการประกวดหรือให้รางวัลประกาศเกียรติคุณ ซึ่งจะทำให้เกิดมีการพัฒนาและก่อให้เกิดขีดความสามารถในการแข่งขัน • การให้สามารถเข้าถึงแหล่งทุนต้นทุนต่ำ www.tanitsorat.com
แนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขันแนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขัน และเข้าถึงโอกาสภายใต้ AEC (2) 2. การยกระดับผู้ให้บริการโลจิสติกส์เป็นคลัสเตอร์:Cluster Logistics Service • การส่งเสริมและอำนวยความสะดวกให้กับผู้ให้บริการโลจิสติกส์ของไทยในการจับคู่ธุรกิจ ระหว่างผู้ประกอบการไทยด้วยกันเอง เพื่อทำให้สามารถรับงานได้ครบวงจร • สภาโลจิสติกส์แห่งชาติ ภายใต้การขาดเอกภาพ รวมทั้งระดับการพัฒนาของแต่ละสมาคมที่แตกต่างกัน ไม่ได้ช่วยแก้ปัญหาในด้านขีดความสามารถในการแข่งขัน • ในระยะยาวหากจะพัฒนาผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทยให้เข้มแข็งจะต้องมีการยกระดับเป็นสภาโลจิสติกส์แห่งชาติ ซึ่งจะต้องมีการออก พ.ร.บ.มารองรับ • การส่งเสริมให้ LSP เป็นส่วนหนึ่งในโซ่อุปทานของผู้ผลิต ภาคบริการโลจิสติกส์ไม่สามารถแยกการพัฒนาต่างหากออกจากการผลิตได้ www.tanitsorat.com
แนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขันแนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขัน และเข้าถึงโอกาสภายใต้ AEC (3) 3. การส่งเสริมและอำนวยความสะดวกของผู้ประกอบโลจิสติกส์ในการลงทุนในต่างประเทศ: AEC Opportunity • ผู้ประกอบการไทยขาดกลยุทธ์ ขาดความเข้าใจและการไม่สามารถเข้าถึงโอกาสการเข้าสู่ AEC • ภายใต้การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หน่วยงานของรัฐ เช่น BOI กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตร กระทรวงคมนาคม ฯลฯ จึงควรร่วมมือกันด้วยการ ส่งเสริมผู้ประกอบการไปลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน • ส่งเสริมจับคู่ธุรกิจกับผู้ร่วมทุนในต่างประเทศ โดยเฉพาะในอาเซียน เพื่อให้สามารถเข้าถึงการเปิดเสรีด้านการลงทุนของ AEC ในปี พ.ศ.2558 www.tanitsorat.com
แนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขันแนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขัน และเข้าถึงโอกาสภายใต้ AEC (4) 4. การสร้างเครือข่ายโซ่อุปทานด้านโลจิสติกส์ :Supply Chain Network • ส่งเสริมให้เกิดการเชื่อมโยงในโซ่อุปทานด้านโลจิสติกส์ของกลุ่มประเทศอาเซียนให้มีความเข้มแข็ง • สนับสนุนให้มีการจัดงาน AEC Logistics Fair ในประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อให้ภาคบริการโลจิสติกส์ไทยสามารถออกไปเสนอบริการกับลูกค้าโดยตรงในกลุ่มประเทศอาเซียน • Business Matching การได้พบปะจับคู่ธุรกิจกับผู้ประกอบการในอาเซียน เพื่อเป็นการพัฒนาเครือข่ายโซ่อุปทานด้านโลจิสติกส์ www.tanitsorat.com
AEC เหรียญสองด้าน • เป็นทั้งโอกาสและความท้าท้าย ขึ้นอยู่กับว่าการปรับตัวหรือรอโชคชะตา • เศรษฐกิจ (ใหม่) และชุมชนไร้พรมแดนของ AECจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างคาดไม่ถึง ทั้งในระดับปัจเจกบุคคล และธุรกิจ • แน่ใจแล้วหรือว่าได้มีการเตรียมพร้อมสู่ AEC ??
END ข้อมูลเพิ่มเติมที่ www.tanitsorat.com www.tanitsorat.com