310 likes | 727 Views
AEC คือ อะไร ?. AEC = ASEAN Economic Community ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. รวบรวมโดย : เยาว รัตน์ เรืองสาตรา นักวิชาการสหกรร์ ชำนาญการพิเศษ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community : AEC.
E N D
AEC คือ อะไร ? AEC = ASEAN Economic Community ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รวบรวมโดย : เยาวรัตน์ เรืองสาตรา นักวิชาการสหกรร์ชำนาญการพิเศษ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนASEAN Economic Community : AEC • เป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียน เกิดแนวคิดจากการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 8 เมื่อปี พ.ศ. 2535 โดยมี ยุทธศาสตร์สำคัญ 4 ด้าน 1. การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตร่วมกัน มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลง ทุน แรงงานมีฝีมือ และเงินทุน อย่างเสรี 2. การสร้างขีดความสามารถการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน เช่น กรอบนโยบายการแข่งขัน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค เพื่อลดช่องว่างการพัฒนาประเทศระหว่างสมาชิก 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เช่นการจัดทำเขตการค้าเสรี FTA ต้องการให้บรรลุผลภายในปี 2563 ต่อมาเร่งเวลาให้เร็วขึ้นเป็นปี 2558
อาเซียน 6 สมาชิกใหม่ CLMV ปี 2540 ปี 2540 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2538 ปี 2510 ปี 2542 ปี 2527 ปี 2510 ปี 2510 อาเซียน ASEAN (Association of South East Asian Nations) • ก่อตั้งเมื่อปี 2510(1967) ครบรอบ 40 ปีเมื่อปี 2550 • จุดประสงค์เริ่มแรก – สร้างความมั่นคง เพื่อต้านภัยคุกคามคอมมิวนิสต์ สมาชิก และปีที่เข้าเป็นสมาชิก
สิ่งที่จะเกิดขึ้นหลังเป็น AEC • อาเซียนจะรวมตัวเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน - อัตราภาษี เป็น 0 - มีการอำนวยความสะดวกทางการค้า ลดขั้นตอนพิธีการศุลกากร - การรับรองให้ผู้ส่งออกรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง เริ่ม 1 ม.ค. 2555 - ASEAN Trade Repository (แหล่งเก็บรักษาข้อมูลการค้าอาเซียน) - นักลงทุนอาเซียนสามารถถือหุ้นในธุรกิจบริการสาขาต่าง ๆ ได้ร้อยละ 70 ลดข้อจำกัด/อุปสรรคในการให้บริการทุกรูปแบบ ตามกรอบข้อตกลงการค้าของ อาเซียน AFAS
สิ่งที่จะเกิดขึ้นหลังเป็น AEC • บรรยากาศการค้าและการลงทุนเสรีมากขึ้น - เปิดเสรีการลงทุน คุ้มครองการลงทุน ส่งเสริมอำนวยความสะดวกการลงทุนครอบคลุมธุรกิจ 5 ภาค เกษตร ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ และภาคการผลิต - ปรับประสานนโยบายการแข่งขัน และทรัพย์สินทางปัญญา • มีเส้นทางการคมนาคมขนส่งเชื่อมโยงกันหมดในภูมิภาค • มีการพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิกที่เสมอภาคยิ่งขึ้น • มีการเชื่อมโยงกับประเทศภายนอกโดยเฉพาะประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (+6)อาเซียนจะเป็นภูมิภาคเปิด
เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี แผนงานใน AEC Blueprint ปี 2553 ปี 2558 ภาษี0% สินค้าในรายการลดภาษี ภาษี0% อาเซียน - 6 เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา 1. เปิดเสรีการค้าสินค้า • ปรับปรุงCEPT(AFTA) เป็น ATIGA(ASEAN Trade in Good Agreement) • ยืนยันการลดภาษีนำเข้าตาม CEPT ยกเว้นสินค้าในSensitive Listภาษีไม่ต้องเป็น0%แต่ต้อง <5% ไทยมี 4 รายการ (กาแฟ มันฝรั่ง ไม้ตัดดอก มะพร้าวแห้ง สินค้าในHighly Sensitive Listไม่ต้องลดภาษี มีสินค้าข้าว ของอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์, น้ำตาลของอินโดนีเซีย 6 CEPT : Common Effective Preferential Tariff
ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียนที่สำคัญเท่าที่ผ่านมาความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียนที่สำคัญเท่าที่ผ่านมา 1. เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) • ลงนาม (โดย นรม.อานันท์ ปันยารชุน) ปี 2535 เริ่มใช้ 2536 2. กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (AFAS) • ลงนาม (โดย นายอำนวย วีรวรรณ) ปี 2538 เริ่มใช้ 2539 3. เขตการลงทุนอาเซียน (AIA) • ลงนาม (โดย นายศุภชัย พานิชย์ภักดิ์) เริ่มใช้ ปี 2541
สถานะการเปิดตลาดของไทย (สินค้าเกษตร 23 รายการ) โควต้านำเข้า ภาษี ปี 2552 ณ 1 มค 53 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กากถั่วเหลืองหอมหัวใหญ่ เมล็ดหอมหัวใหญ่ ไหมดิบ ใบยาสูบ กระเทียม 0% ยกเลิกแล้ว 5% ลำไยแห้ง ยกเลิกแล้ว 0% พริกไทย น้ำตาล น้ำมันถั่วเหลือง ยกเลิกแล้ว 0% 5% 5% มันฝรั่ง ยกเลิกแล้ว 20% มะพร้าว จะต้องยกเลิก ก่อน 1 มค 53 (กนศ มีมติแล้ว) 0% น้ำมันมะพร้าว ข้าว กาแฟสำเร็จรูป น้ำนมดิบ/นมปรุงแต่ง นมผงขาดมัน 0% 5% 30, 25% 5% เมล็ดกาแฟ เนื้อมะพร้าวแห้ง ชา 5% 0% เมล็ดถั่วเหลือง น้ำมันปาล์ม จะต้องยกเลิก/ ยังมีเงื่อนไขนำเข้า 0% 5% ยกเลิกแล้ว แต่ยังมีเงื่อนไขนำเข้า
เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี แผนงานใน AEC Blueprint ยกเลิกเป็นระยะ ขจัดมาตรการที่มิใช่ภาษี NTBs NTBs ชุดที่ 1 NTBs ชุดที่ 2 NTBs ชุดที่ 3 ยกเลิกภายใน1มค.2551(2008) ยกเลิกภายใน1มค.2552(2009) อาเซียน5 ภายใน1มค.2553(2010) ฟิลิปปินส์ ภายใน1มค.2555(2012) CLMV ภายใน1มค.2558(2015) NTBs : Non-Tariff Barriers
แผนงานใน AEC Blueprint เคลื่อนย้ายบริการเสรี ปี 2551 (2008) ปี 2553 (2010) ปี 2556 (2013) ปี 2549 (2006) ปี 2558 (2015) 51% 70% สาขา PIS 49% :เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ ท่องเที่ยว การบิน 70% 70% 30% 49% 51% PIS: Priority Integration Sectors (สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม) เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นให้กับนักลงทุนอาเซียน 2. เปิดเสรีการค้าบริการ ลอจิสติกส์ สาขาอื่น
เคลื่อนย้ายลงทุนเสรี/เงินทุนเสรียิ่งขึ้นเคลื่อนย้ายลงทุนเสรี/เงินทุนเสรียิ่งขึ้น แผนงานใน AEC Blueprint ACIA: ASEAN Comprehensive Investment Agreement 3. เปิดเสรีลงทุน • ครอบคลุม ธุรกิจ 5 ภาค(เกษตร ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ การผลิต) และบริการที่ต่อเนื่อง • ปฏิบัติกับนักลงทุนอาเซียนเช่นเดียวกับนักลงทุนตนเอง • ทบทวนความตกลงAIAให้เป็นข้อตกลงการลงทุนเต็มรูปแบบ - (เปิดเสรี คุ้มครอง ส่งเสริม/อำนวยความสะดวก) SBO(Substantial Business Operation) • Foreign-Owned ASEAN-Based Investor • Negative List Approachสามารถจะสงวนสิ่งที่ไม่ต้องการเปิดเสรีใน Reservation Lists
เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ/เงินทุนเสรียิ่งขึ้นเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ/เงินทุนเสรียิ่งขึ้น แผนงานใน AEC Blueprint 4. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ • อำนวยความสะดวกการตรวจลงตรา ออกใบอนุญาตทำงาน • ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายนักเรียน เจ้าหน้าที่ภายใต้ความร่วมมือเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN) • พัฒนากรอบแผนงานมาตรฐานความสามารถ-คุณสมบัติของงาน 4. เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรีมากขึ้น • ดำเนินการตามแผนงานที่เห็นชอบโดยรัฐมนตรีคลังอาเซียน
ประเด็นสำคัญในการทำ FTA เพื่อเปิดตลาดการค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุน ลดภาษีศุลกากร ลดมาตรการกีดกันอื่นๆ และการอำนวยความสะดวกทางการค้า ความตกลงด้านสินค้า ลดข้อจำกัดต่างชาติในการเข้ามาลงทุน การทำงาน การยอมรับมาตรฐานวิชาชีพ ฯลฯ ความตกลงการค้าบริการ เปิดตลาดการลงทุน ส่งเสริม และ คุ้มครองการลงทุนและนักลงทุน ความตกลงการลงทุน 13
FTA และความร่วมมือเศรษฐกิจของไทยกับกลุ่มประเทศเอเชีย • อาเซียน • ASEAN Free Trade Area - AEC • จีน • ASEAN and China (ACFTA) (เปิดตลาดผักผลไม้ 1 ต.ค. 46 และเริ่มลดภาษีสินค้าทั่วไป 20 ก.ค.48) • GMS (Greater Mekong Sub Region) • EDBETC (ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการค้าเชิงกว้างและเชิงลึกระหว่างไทยกับจีน) • ความร่วมมือทางเศรษฐกิจรอบอ่าวเป่ยปู้ • ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการค้าไทยกับฮ่องกง (อยู่ระหว่างดำเนินการ) • ญี่ปุ่น • JTEPA (Japan – Thailand Economic Partnership) (ใช้เมื่อ 1 พ.ย. 50) • ASEAN – Japan Comprehensive Economic Partnership (AJCEP) (ใช้เมื่อ 1 มิ.ย. 52) • เกาหลีใต้ • ASEAN – Korea Free Trade Area (AKFTA) (ใช้เมื่อ 1 ม.ค. 53) • อินเดียและเอเชียใต้ • Thailand – India FTA (ใช้เมื่อ 1 ก.ย.47) • ASEAN – India FTA (ใช้เมื่อ 1 ม.ค.53) • BIMSTEC FTA (อยู่ระหว่างการดำเนินการ) • อื่น ๆ • ASEAN + 3 (EAFTA) / ASEAN + 6 (CEPEA) อยู่ระหว่างดำเนินการ ขนาดตลาด 3,300 ล้านคน หรือ ½ โลก 14
EAFTA (ASEAN+3 จีน ญี่ปุ่น เกาหลี) • เป็นตลาดที่มีประชากร 2,000 ล้านคน (1/3 ของโลก) • เริ่มปี 2542 อาเซียน จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ต้องการร่วมมือทางเศรษฐกิจ การค้า การเงิน สังคม และการเมือง โดยจีนและเกาหลีใต้เป็นผู้ผลักดัน • โครงการเด่น ได้แก่ Chiang Mai Initiativeเป็นความร่วมมือการบริหารอัตราแลกเปลี่ยนและทำตลาดพันธบัตรเอเชีย • คาดว่า EAFTA ทำให้ GDP เพิ่มขึ้น 1.9%โดยอาเซียนจะได้รับประโยชน์มากกว่าคู่เจรจาฯ ในส่วนของไทยจะมี GDP เพิ่มขึ้น 7%
CEPEA (ASEAN+6 จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย) • มีประชากร 3,284 ล้านคน (1/2 ของโลก) • อาเซียนและ 6 ประเทศเห็นชอบให้มีการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนา CEPEA โดยญี่ปุ่นเป็นผู้ผลักดันเพื่อคานอำนาจกับจีน ครอบคลุม • การเปิดตลาดการค้าสินค้า/บริการ/ลงทุน • การอำนวยความสะดวกด้านการค้า/ลงทุน • ความร่วมมือการเกษตร อุตสาหกรรม พลังงาน ICT สิ่งแวดล้อม และ SME ฯลฯ • ญี่ปุ่นยังสนับสนุนจัดตั้งสถาบันวิจัยเศรษฐกิจอาเซียนและเอเชียตะวันออก (ERIA) และผลักดัน New Development Initiatives เช่นEast Asia Industrial Corridor และ Trade Insurance • คาดว่า CEPEA จะทำให้ GDP เพิ่มขึ้น 2.1% โดยอาเซียนจะได้รับประโยชน์มากกว่าคู่เจรจา และไทยจะมี GDP เพิ่มขึ้น 7.3%
AEC/FTA ทำให้ธุรกิจไทยต้องปรับตัว • การปรับตัวเชิงรุก • เสาะหาวัตถุดิบที่มีความได้เปรียบด้านราคาและคุณภาพ • ศึกษารสนิยมและพฤติกรรมผู้บริโภคในตลาดต่างประเทศ เพื่อส่งออกสินค้า/บริการ • พัฒนาการจัดการภายในและการจัดการโลจิสติกส์ • พิจารณาย้ายฐานการผลิตไปยังตลาดที่มีศักยภาพด้านแรงงาน และบริโภค • เจาะตลาดประเทศคู่ค้า โดยใช้สิทธิประโยชน์จากการค้าเสรี • การปรับตัวเชิงรับ • เรียนรู้คู่แข่ง • เร่งเสริมจุดแข็ง ลดจุดอ่อน เพราะคู่แข่งจากต่างประเทศอาจเข้ามามากขึ้น • มัดใจลูกค้า • เรียนรู้คู่แข่ง และหาทางอยู่ร่วมกับเขาให้ได้
การวางแผนโซ่อุปทานอาหารและเกษตรการวางแผนโซ่อุปทานอาหารและเกษตร Planning วางแผนความต้องการ วางแผนการผลิต Transport Distribution Centre Farmer Processing Stores Chackrit Duangphastra, PhD
Global Food Supply Chain Trends เปลี่ยนจาก “ผลัก” สู่ “ดึง” Chackrit Duangphastra, PhD
ความท้าทายใหม่ทางการค้าความท้าทายใหม่ทางการค้า • ต้องทำความเข้าใจความต้องการลูกค้า • รู้จักพฤติกรรมลูกค้า และพยากรณ์การผลิตและการส่งมอบได้ • กำหนดขีดความสามารถในการผลิต • รู้จักสร้างสมดุลย์ระหว่างความต้องการกับปริมาณผลิต • ใช้ประโยชน์จากการค้าเสรีและโลกาภิวัฒน์ทางการค้า • ทำสินค้าให้มีคุณภาพและปลอดภัย ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม • ปรับปรุงประสิทธิภาพของโลจิสติกส์และโซ่อุปทานอย่างต่อเนื่อง Chackrit Duangphastra, PhD
7 R in Management • 7Rs • Right Materials • Right Quantity • Right Time • Right Place • Right Source • Right Service • Right Price ดร.จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา
ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับเกษตรกร ไทย • ผู้ผลิตมีโอกาสซื้อวัตถุดิบ ผลิตผลทางการเกษตร ข้าว ข้าวโพด อ้อย มันสำปะหลัง ราคาถูกจากประเทศในกลุ่มอาเซียน • ย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศอื่นที่มีค่าแรง วัตถุดิบราคาถูกกว่า • ผู้บริโภค มีโอกาสเลือกซื้อสินค้าเกษตร ผัก ผลไม้ อาหารแปรรูป ต่าง ๆ ราคาถูก คุณภาพดี จากประเทศต่าง ๆ ได้มากขึ้น • โอกาสการตลาด ความต้องการสินค้า วัตถุดิบมากขึ้น สินค้าจะมีโอกาสส่งออกในกลุ่มอาเซียน หรือส่งออกในกลุ่มที่มีการทำ FTA มากขึ้น ถ้าสินค้าไทยสามารถแข่งขันได้ • ความต้องการพืชพลังงานทดแทนมีมากขึ้น ความต้องการยางพารามีมากขึ้น กลุ่มสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์ในจังหวัดลพบุรี ข้าว โคนม อ้อย ข้าวโพด มันสำปะหลัง
การปรับตัวของเกษตรกร และสหกรณ์ • การผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ ได้การรับรองมาตรฐาน • การลดต้นทุนการผลิต • การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ต้องปรับตัวเร็วขึ้น มีการแข่งขันมากขึ้น • สหกรณ์ต้องทำหน้าที่ ช่วยเหลือสมาชิกในการพัฒนาสินค้า • มีการรวมตัวสร้างเครือข่ายมากขึ้น • การใช้เทคโนโลยี • เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร • ลดการใช้ทรัพยากร
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) อาเซียนจะรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ภายในปี 2558 (ค.ศ.2015) โดยมีแนวคิดว่าอาเซียนจะกลายเป็นเขตการผลิตเดียว ตลาดเดียว หรือ Single market and production base นั่นหมายถึง จะต้องมีการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตได้อย่างเสรี สามารถดำเนินกระบวนการผลิตที่ไหนก็ได้ โดยสามารถใช้ทรัพยากรจากแต่ละประเทศ ทั้งวัตถุดิบและแรงงานมาร่วมในการผลิต มีมาตรฐานสินค้า กฎเกณฑ์ กฎระเบียบเดียวกัน
แนวโน้มของโลกและสิ่งท้าทายที่กำลังเผชิญแนวโน้มของโลกและสิ่งท้าทายที่กำลังเผชิญ ตลาดอาหารอยู่ในยุคโลกาภิวัฒน์ ความตื่นกลัวต่ออาหารที่ไม่ปลอดภัย และโรคระบาด กระแสสังคมเริ่มเน้นการบริโภคเพื่อสุขภาพ รักษาสิ่งแวดล้อม และสวัสดิภาพสัตว์ มีเทคโนโลยีใหม่ๆเกิดขึ้น สินค้าแข่งกันที่คุณภาพ ความตกลงภายใต้ WTO กำหนดให้การค้าอาหารระหว่างประเทศต้องอาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์
เครื่องหมายรับรองมาตรฐานบังคับเครื่องหมายรับรองมาตรฐานบังคับ ใช้กับสินค้าเกษตรที่ต้องควบคุมตามมาตรฐานบังคับ เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค เครื่องหมายรับรองมาตรฐานทั่วไป ใช้กับสินค้าเกษตรที่รับรองตามมาตรฐานทั่วไป เพื่อส่งเสริมการผลิต/จำหน่ายสินค้าที่ได้มาตรฐาน ประเภทของเครื่องหมาย Q มาตรา 56 ห้ามมิให้ผู้ใดใช้เครื่องหมายรับรองมาตรฐานตามมาตรา 54 เว้นแต่เป็นผู้ผลิต ผู้ส่งออก หรือผู้นำเข้า ที่ได้รับใบรับรองตามมาตรฐานบังคับ หรือมาตรฐานทั่วไป แล้วแต่กรณี
ASEAN Standard for Horticultural Produceand Other Food Crops • มาตรฐานสินค้าเกษตรอาเซียนที่ประกาศรับรองแล้ว ได้แก่ ทุเรียน มะละกอ เงาะ ส้มโอ ส้มเปลือกร่อน มังคุด แตงโม ฝรั่ง ลองกอง มะพร้าวอ่อน กล้วย กระเทียม หอมแดง ขนุน แตงกวา เมล่อน สละกระเจี๊ยบเขียว มะม่วงหิมพานต์ พริกหวาน หอมใหญ่ และพริก • มาตรฐานที่อยู่ระหว่างพิจารณา ได้แก่ ชมพู่ ละมุด มะเขือยาว ฟักทอง และข้าวโพดหวาน • สินค้าเกษตรที่อยู่ในแผนกำหนดมาตรฐานอาเซียน ได้แก่ - ปี 2555 กะหล่ำปลี ถั่วฝักยาว มะขามหวาน กาแฟ และขมิ้น - ปี 2556 น้อยหน่า เห็ดหอม มันเทศหวาน ถั่วลิสง ชา และเมล็ดโกโก้
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม • กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ • Website : www.dtn.go.th • Call Center : 02 – 507-7555