430 likes | 781 Views
พระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553. หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การเลือกตั้งสมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัดชุดแรก. โครงสร้างสภาเกษตรกรแห่งชาติ. สภาเกษตรกรแห่งชาติ จำนวน 99 คน ประกอบด้วย. 1. ประธานสภาเกษตรกรจังหวัด 76 คน 2. ตัวแทนองค์กรเกษตรกร 16 คน 3. ผู้ทรงคุณวุฒิ 7 คน.
E N D
พระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแห่งชาติพ.ศ. 2553 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การเลือกตั้งสมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัดชุดแรก
โครงสร้างสภาเกษตรกรแห่งชาติโครงสร้างสภาเกษตรกรแห่งชาติ สภาเกษตรกรแห่งชาติ จำนวน 99 คน ประกอบด้วย 1. ประธานสภาเกษตรกรจังหวัด 76 คน 2. ตัวแทนองค์กรเกษตรกร 16 คน 3. ผู้ทรงคุณวุฒิ 7 คน ประธานสภาเกษตรกรแห่งชาติ รองประธานสภาฯ รองประธานสภาฯ สำนักงานสภาเกษตรกรแห่งชาติ (สกช.) เลขาธิการสภาเกษตรกรแห่งชาติ รองเลขาธิการฯ 1 รองเลขาธิการฯ 2 สภาเกษตรกรจังหวัด
โครงสร้างสภาเกษตรกรจังหวัดโครงสร้างสภาเกษตรกรจังหวัด สภาเกษตรกรจังหวัด 1. สมาชิกที่มาจากการเลือกตั้ง 16 คน หรือมากกว่า 2. สมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน ประธานสภาเกษตรกรจังหวัด รองประธานสภาฯ รองประธานสภาฯ สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัด (สกจ.) หัวหน้าสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัด พนักงาน ลูกจ้าง
สมาชิกสภาเกษตรแห่งชาติสมาชิกสภาเกษตรแห่งชาติ คุณสมบัติ - มีสัญชาติไทย - มีอายุไม่ต่ำกว่า 25ปีบริบูรณ์ - เป็นสมาชิกองค์กรเกษตรกรมาแล้วไม่น้อยกว่า 1ปี ฯลฯ ประกอบด้วย 1. ประธานสภาเกษตรกรจังหวัด 76คน 2. สมาชิกจากตัวแทนองค์กรเกษตรกร 16คน 3. สมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิ 7คน วาระการดำรงตำแหน่ง 4ปี ติดต่อกัน 2วาระไม่ได้ อำนาจหน้าที่ อาทิเช่น เสนอ ครม. กำหนดนโยบายส่งเสริมและพัฒนาความเข้มแข็งแก่เกษตรกร การทำเกษตรแบบผสมผสาน การวิจัยและพัฒนาด้านพันธุกรรมพืชและสัตว์ การประกันความเสี่ยงของราคาและผลผลิต เสนอแผนแม่บท และแก้ไขปัญหาของเกษตรกร สิทธิประโยชน์ ค่าเบี้ยประชุม ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าใช้จ่าย และสิทธิประโยชน์อื่น ตามระเบียบกำหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง
สำนักงานสภาเกษตรกรแห่งชาติสำนักงานสภาเกษตรกรแห่งชาติ สถานะ - เป็นหน่วยงานของรัฐ - มีฐานะเป็นนิติบุคคล - ไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ - เรียกโดยย่อว่า “สกช.” - มีสำนักงานตั้งอยู่ที่กรุงเทพฯ อำนาจหน้าที่ อาทิ รับผิดชอบงานธุรการและเป็นเลขานุการของสภาเกษตรกรแห่งชาติ รวบรวม ศึกษา วิจัย พัฒนา และวิเคราะห์ข้อมูล ประชาสัมพันธ์โครงการให้เกษตรกรทราบ รับขึ้นทะเบียน เป็นต้น เลขาธิการสภาเกษตรกรแห่งชาติ - มีสัญชาติไทย - อายุไม่ต่ำกว่า 35ปี-60ปี - มีความรู้ ผลงาน ประสบการณ์ - ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย - ไม่เป็นลูกจ้างองค์การเอกชนที่มีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ - แต่งตั้งโดยประธานสภาเกษตรกรแห่งชาติ - เป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้างของ สกช.
สมาชิกสภาเกษตรจังหวัดสมาชิกสภาเกษตรจังหวัด คุณสมบัติ - เป็นเกษตรกรที่มีภูมิลำเนาอยู่ในจังหวัด - มีสัญชาติไทย - มีอายุไม่ต่ำกว่า 25ปีบริบูรณ์ - ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย ประกอบด้วย 1. สมาชิกที่ได้รับเลือกตั้ง 16 คน หรือมากกว่า 2. สมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน วาระการดำรงตำแหน่ง 4ปี ติดต่อกัน 2วาระไม่ได้ อำนาจหน้าที่ อาทิเช่น พัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่เกษตรกร และองค์กรเกษตรกรในจังหวัด ประสานนโยบายและการดำเนินงาน เสนอแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับจังหวัด สนับสนุนการศึกษา การฝึกอบรม การถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่เกษตรกร ให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะแก่เกษตรกรหรือองค์กรเกษตรกร สิทธิประโยชน์ ค่าเบี้ยประชุม ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าใช้จ่าย และสิทธิประโยชน์อื่น ตามระเบียบกำหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง
สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัด สถานะ - เป็นหน่วยงานของรัฐ - มีฐานะเป็นนิติบุคคล - ไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ - เรียกโดยย่อว่า “สกจ.” - มีสำนักงานตั้งอยู่แต่ละจังหวัด อำนาจหน้าที่ อาทิ อาทิ รับผิดชอบงานธุรการและเป็นเลขานุการของสภาเกษตรกรจังหวัด รวบรวม ศึกษา วิจัย พัฒนา และวิเคราะห์ข้อมูล ประชาสัมพันธ์โครงการให้เกษตรกรทราบ จัดให้มีระบบฐานข้อมูล เป็นต้น หัวหน้าสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัด - แต่งตั้งโดยเลขาธิการสภาเกษตรกรแห่งชาติ - แต่งตั้งจากพนักงานของสำนักงานสภาเกษตรกรแห่งชาติ - เป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้างของ สกจ.
บทเฉพาะกาล • ในวาระเริ่มแรก ให้ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทำหน้าที่เลขาธิการและ หัวหน้าสำนักงานสภาเกษตรกรกรุงเทพฯ และให้เกษตรและสหกรณ์จังหวัดทำหน้าที่หัวหน้าสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัด ทั้งนี้ ไม่เกิน 2 ปี • ให้ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และเกษตรและสหกรณ์จังหวัด จัดให้มีการเลือกตั้งผู้แทนเกษตรกรระดับหมู่บ้าน ตำบล และอำเภอ ตามมาตรา 46,47,48 และ 49 • กรณีมีปัญหาอันเนื่องจากการเลือกตั้ง ให้เกษตรและสหกรณ์จังหวัด หรือผู้อำนวยการสำนักแผนงานโครงการพิเศษ เป็นผู้วินิจฉัยแล้วแต่กรณี • คำวินิจฉัยให้อุทธรณ์ต่อปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ภายใน 15 วัน • คำวินิจฉัยอุทธรณ์ของปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้เป็นที่สุด
ระยะเวลาและกิจกรรมการเลือกตั้งผู้แทนเกษตรกรระดับหมู่บ้านระยะเวลาและกิจกรรมการเลือกตั้งผู้แทนเกษตรกรระดับหมู่บ้าน
ระยะเวลาและกิจกรรมการเลือกตั้งผู้แทนเกษตรกรระดับหมู่บ้านระยะเวลาและกิจกรรมการเลือกตั้งผู้แทนเกษตรกรระดับหมู่บ้าน
องค์ประกอบในการดำเนินงานองค์ประกอบในการดำเนินงาน การจัดการเลือกตั้ง สมาชิกสภาเกษตรกร
การจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาเกษตรจังหวัดการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาเกษตรจังหวัด
สมาชิกสภาเกษตรกร บุคลากร ในกระบวนการเลือกตั้ง
คณะกรรมการอำนวยการการเลือกตั้งสมาชิกสภาเกษตรกร ในส่วนกลาง (แต่งตั้งตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 25 พ.ย. 2553) • ประกอบด้วย 1. ปลัดกระทรวงฯ (ประธาน) 9. ผู้แทน สนง.อัยการสูงสุด 2. ที่ปรึกษานายกฯ (รองประธาน) 10. เลขาธิการ กกต. 3. รองปลัดกระทรวงฯ (รองประธาน) 11. รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 4. รองปลัด มท. (รองประธาน) 12. อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร 5. รอง ผบ.ตร. 13. หัวหน้าผู้ตรวจราชการ (เลขาฯ) 6. อธิบดีกรมการปกครอง 14. ผอ.สนง.แผนงานฯ 7. อธิบดีกรมส่งเสริมฯ 15. ผอ.สำนักตรวจราชการ 8. ผู้แทน กทม. 16. ผอ.สำนักกฎหมาย 17. ผอ.ศูนย์เทคโนโลยีฯ
คณะกรรมการอำนวยการการเลือกตั้งสมาชิกสภา เกษตรกรจังหวัด (แต่งตั้งตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 25 พ.ย. 2553) • ประกอบด้วย 1. ผู้ว่าราชการจังหวัด (ประธาน) 7. ผอ.สพท.ประถมศึกษา 2. ปลัดจังหวัด (รองประธาน) 8. ผฮ.สพท.มัธยมศึกษา 3. อัยการจังหวัด 9. ประชาสัมพันธ์จังหวัด 4. ผบก.ตร.จ. 10. เกษตรจังหวัด 5. ผอ.กต.จว. 11. เกษตรและสหกรณ์จังหวัด (เลขาฯ) 6. ท้องถิ่นจังหวัด 12. หน.กลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรฯ 13. หน.กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรฯ
คณะกรรมการการเลือกตั้งอำเภอ (แต่งตั้งโดยคณะกรรมการอำนวยการการเลือกตั้งจังหวัด) • อำเภอละ 5 คน (นอภ. สาธารณสุขอำเภอ พัฒนาการอำเภอ ผอ.รร. เกษตรอำเภอ) • มีหน้าที่จัดการเลือกตั้งผู้แทนเกษตรกรระดับหมู่บ้าน ตำบล และอำเภอ • แต่งตั้งคณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง หน่วยละ 3 คน (แต่งตั้งจาก ข้าราชการ เป็นประธาน และผู้มีสิทธิเลือกตั้งในหมู่บ้าน เป็นกรรมการ) • แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัคร อำเภอละ 5 คน (แต่งตั้งจาก ข้าราชการในจังหวัด) • แต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับสมัคร (ตามความเหมาะสม) • แต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับคำร้องคัดค้าน 3 คน
ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาเกษตรกรระดับหมู่บ้าน ผู้สมัครรับเลือกตั้ง • คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม 1. เป็นเกษตรกรที่มีภูมิลำเนาอยู่ในจังหวัด 2. มีสัญชาติไทย 3. อายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ 4. ไม่ลักษณะต้องห้ามตาม ม.7(4)-(10) • กำหนดวัน เวลา สถานที่ รับสมัคร - รับสมัครระหว่างวันที่ 19-23 ม.ค. 2554 - รับสมัคร ณ สำนักงานเกษตรอำเภอ • หลักฐานการสมัคร 1. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน 2. สำเนาทะเบียนบ้าน 3. รูปถ่าย 2x 3 นิ้ว จำนวน 3 รูป สมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัด • คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม 1. เป็นเกษตรกรที่มีภูมิลำเนาอยู่ในจังหวัด 2. มีสัญชาติไทย 3. อายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ 4. ไม่ลักษณะต้องห้ามตาม ม.7(4)-(10) • อำนาจหน้าที่ เช่น 1. พัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่เกษตรกร 2. ประสานนโยบายและการดำเนินงาน 3. ส่งเสริมและสนับสนุนการรวมกลุ่ม 4. เสนอแผนพัฒนาเกษตรกรรม 5. สนับสนุนและส่งเสริมการศึกษา การฝึกอบรมฯ 6. เสนอนโยบาย การพัฒนา แก้ไขปัญหา • วาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี ติดต่อกันไม่เกิน 2 วาระไม่ได้ • การพ้นจากตำแหน่ง 1. ครบวาระ 2. ตาย 3. ลาออก 4. สภาฯ 2ใน3 มีมติให้พ้น 5. ลาออกจากองค์กรเกษตรกร 6. ถูกจำคุก 7. ขาดหรือลาประชุมติดต่อกันเกิน 5 ครั้ง • เงินเดือน ไม่มีเงินเดือนประจำ แต่อาจได้รับค่าเบี้ยประชุม ค่าเบี้ยเลี้ยง หรือสิทธิประโยชน์ ตามที่สภาเกษตรกรแห่งชาติกำหนด
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาเกษตรกรผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาเกษตรกร • คุณสมบัติ 1. เป็นเกษตรกร 2. เกิดก่อนวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2534 หรือบรรลุนิติภาวะโดยการสมรสซึ่งเกิดหลัง วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2534 3. มีชื่อในบัญชีครัวเรือนเกษตรกร หรือบัญชีทะเบียนเกษตรกรเพิ่มเติม
การเลือกตั้ง สมาชิกสภาเกษตรกร ระดับหมู่บ้าน วัสดุ-อุปกรณ์ที่ใช้ในการเลือกตั้ง
1. บัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง • องค์ประกอบของบัญชีรายชื่อฯ 1. บัญชีรายชื่อที่จัดทำจากบัญชีครัวเรือนเกษตรกรซึ่งกรมส่งเสริมการเกษตร ได้ปรับปรุงข้อมูล แล้วส่งให้กรมการปกครองตรวจสอบกับข้อมูลทะเบียนราษฎร์ และจัดส่งให้สำนักทะเบียนอำเภอ/ท้องถิ่นจัดพิมพ์ และส่งให้สำนักงานเกษตรอำเภอ 2. บัญชีรายชื่อที่จัดทำจากบัญชีครัวเรือนเกษตรกรซึ่งกรมส่งเสริมการเกษตรจัดทำเอง 3. บัญชีรายชื่อที่สำนักงานเกษตรอำเภอจัดทำจากข้อมูลการรับขึ้นทะเบียนเกษตรกรเพิ่มเติม • การรับขึ้นทะเบียนเพิ่มเติม 1. กำหนดเวลารับขึ้นทะเบียนเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 30 วัน (29 พ.ย.-28 ธ.ค. 53 ณ สำนักงานเกษตรอำเภอ)
1. บัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง • การจัดพิมพ์รายชื่อ ให้จัดทำบัญชีรายชื่อเป็นรายหน่วยเลือกตั้ง เรียงตามลำดับเลขบ้าน สำหรับในเขตเทศบาลให้เรียงตามชื่อตรอก ซอย ถนน เรียงตามลำดับ ตัวอักษรและตามเลขประจำบ้านในแต่ละชุมชน • บัญชีรายชื่อให้จัดทำ 4 ชุด ดังนี้ ชุดที่ 1 ใช้แก้ไขปรับปรุง (เพิ่มชื่อ-ถอนชื่อ) ชุดที่ 2 ใช้ปิดประกาศ ณ ที่เลือกตั้ง ชุดที่ 3 ใช้ตรวจสอบและหมายเหตุการณ์ลงคะแนน ชุดที่ 4 สำรองไว้ในวันเลือกตั้ง
แบบพิมพ์ที่ใช้ในการเลือกตั้งแบบพิมพ์ที่ใช้ในการเลือกตั้ง แบบ สภก.1 ประกาศบัญชีรายชื่อเกษตรกรผู้มีสิทธิเลือกตั้งฯ ระดับหมู่บ้าน แบบ สภก. 2 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการเลือกตั้ง แบบ สภก. 3 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำหน่วยฯ แบบ สภก. 4 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัครฯ แบบ สภก. 5 ประกาศรับขึ้นทะเบียนเกษตรกรเพิ่มเติมฯ ระดับหมู่บ้าน แบบ สภก. 6 แบบคำขอขึ้นทะเบียนเกษตรกรเพิ่มเติมฯ ระดับหมู่บ้าน แบบ สภก. 7 แบบคำร้องขอเพิ่มชื่อ/ถอนชื่อ แบบ สภก. 8 – 28
2. วัสดุ-อุปกรณ์ที่ใช้ในการเลือกตั้ง • หีบบัตรเลือกตั้ง • บัตรเลือกตั้ง • บัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง • ตัวอย่างบัตรเลือกตั้ง • คูหาลงคะแนน • สายรัดหีบบัตรเลือกตั้ง • ถุงพลาสติกใส • นาฬิกาและธงชาติ • ตลับชาด เทปกาว กาวยาง หนังยางวง เชือก เหล็กแหลม ครั่ง ไม้ขีดไฟ เทียนไข ปากกาหมึกแห้งเส้นใหญ่สำหรับใช้กากบาท ป้ายปิดประกาศ กระดาษทาบสำหรับผู้พิการทางสายตา ไม้บรรทัด เชือกแถบสีพลาสติก • ป้ายชื่อติดหน้าอกกรรมการฯ ป้ายชี้บอกทางไปลงคะแนน ป้ายแสดงที่ตั้งของที่เลือกตั้ง ป้ายทางเข้า ป้ายทางออก ป้ายบริเวณที่เลือกตั้ง ฯ • สมุดรายงานเหตุการณ์ประจำหน่วยเลือกตั้ง
งบประมาณ ค่าใช้จ่ายในการจัดการเลือกตั้ง
งบประมาณค่าใช้จ่ายในการจัดการเลือกตั้งงบประมาณค่าใช้จ่ายในการจัดการเลือกตั้ง เงินเดือน ค่าตอบแทน ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเบี้ยประชุม ค่าใช้จ่ายประจำหน่วยเลือกตั้ง
กรอบการจัดสรรงบประมาณกรอบการจัดสรรงบประมาณ • ค่าตอบแทน 1. กปน. ระดับหมู่บ้าน ๆ ละ 1,200บาท 2. กปน. ระดับตำบล ๆ ละ 210บาท 3. กปน. ระดับอำเภอ ๆ ละ 210 บาท 4. คณะกรรมการอำนวยการฯ จังหวัด เหมาจ่ายอำเภอละ 630 บาท 5. ค่าตอบแทนข้าราชการและลูกจ้าง เหมาจ่ายจังหวัดละ 10,000 บาท • ค่าใช้สอย 1. ค่าทำความสะอาดสถานที่เลือกตั้งระดับตำบล ๆ ละ 210 บาท 2. ค่าทำความสะอาดสถานที่เลือกตั้งระดับอำเภอ ๆ ละ 210บาท 3. ค่าพาหนะจากจังหวัดไปหน่วยเลือกตั้ง หมู่บ้านละ 200บาท 4. ค่าจัดทำป้ายไวนิล หน่วยเลือกตั้งละ 200 บาท (ระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ) • ค่าวัสดุ อุปกรณ์เครื่องเขียน แบบพิมพ์ หน่วยเลือกตั้งละ 600 บาท (ระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ)
การดำเนินการจัดการเลือกตั้งการดำเนินการจัดการเลือกตั้ง ผู้แทนสมาชิกสภาเกษตรกรระดับหมู่บ้าน
การดำเนินการก่อนวันเลือกตั้งการดำเนินการก่อนวันเลือกตั้ง
การดำเนินการก่อนวันเลือกตั้งการดำเนินการก่อนวันเลือกตั้ง
การดำเนินการก่อนวันเลือกตั้งการดำเนินการก่อนวันเลือกตั้ง
การดำเนินการในวันเลือกตั้ง (13 กุมภาพันธ์ 2554)
การดำเนินการในวันเลือกตั้ง (13 กุมภาพันธ์ 2554)
การดำเนินการในวันเลือกตั้ง (13 กุมภาพันธ์ 2554)
การดำเนินการในวันเลือกตั้ง (13 กุมภาพันธ์ 2554)
การดำเนินการหลังวันเลือกตั้งการดำเนินการหลังวันเลือกตั้ง
การดำเนินการหลังวันเลือกตั้งการดำเนินการหลังวันเลือกตั้ง
ด้วยความปรารถนาดีจาก สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดนนทบุรี 17 ม.ค. 2554 สมิหรา เดชะอังกูร พนง.ลต./ผู้จัดทำ