820 likes | 1.42k Views
วัคซีน ……. เรื่องต้องรู้ น่ารู้ และควรรู้ Speakers: Dr.Woraman Widab Assist Prof.Olarn Prommalikit Moderator: Prof. Usa Thisyakorn. ชนิดของวัคซีน. Live Vaccine: BCG, OPV, MMR, VZV, OTy, Rota Killed Vaccine: Pertussis, JE, HAV, Rabies Toxoid: Diphtheria, Tetanus
E N D
วัคซีน…….เรื่องต้องรู้ น่ารู้ และควรรู้Speakers:Dr.Woraman WidabAssist Prof.Olarn Prommalikit Moderator:Prof.Usa Thisyakorn
ชนิดของวัคซีน Live Vaccine:BCG, OPV, MMR, VZV, OTy, Rota Killed Vaccine:Pertussis, JE, HAV, Rabies Toxoid:Diphtheria, Tetanus Subunit (recombinant): HBV, Influenza, aP, HPV Polysaccharide:PS-23, Meningococcal, Ty Conjugated polysaccharide:Hib, PCV-7
คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีนคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีน หากไม่มารับวัคซีนตามที่กำหนด ควรให้วัคซีนที่ขาดไปอย่างไร -ควรให้ทันที และให้คงระยะห่างของเข็ม ต่อไปเหมือนเดิม ไม่จำเป็นต้องเริ่มต้นฉีดใหม่ - การให้วัคซีนซ้ำ ในกรณีที่ไม่แน่ใจว่าเคย ได้รับมาก่อนหรือไม่ ไม่มีอันตราย นอกจากเป็น การสิ้นเปลืองและเจ็บตัวโดยไม่จำเป็น
คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีนคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีน หากไม่มารับวัคซีนตามที่กำหนด ควรให้วัคซีนที่ขาดไปอย่างไร - ข้อควรระวัง : ในกรณีที่ไม่มารับ DTP ตามกำหนด มาอีก ครั้งที่อายุ 8 ขวบ จะไม่ให้ DTP แต่ให้เป็น dT : ถ้าฉีด DTP เข็มที่ 4 หลังอายุ 4 ขวบ ไม่ จำเป็นต้องฉีดเข็มที่ 5 : วัคซีน Hib ไม่จำเป็นต้องฉีดหลังอายุ 2 ขวบ
คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีนคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีน กรณีใดบ้างที่ควรเลื่อนการให้วัคซีนออกไป - ผู้ที่กำลังเจ็บป่วย เช่น อาการไข้ ชัก เพราะ วัคซีนอาจทำให้อาการของโรคเลวลง หรืออาจ สับสนว่าเป็นอาการของโรคหรือจากวัคซีน และ ช่วงที่ป่วย ร่างกายอาจสร้างภูมิต้านโรคได้ไม่ดี ความเจ็บป่วยเพียงเล็กน้อย เช่น เป็นหวัดโดย ไม่มีไข้ สามารถให้วัคซีนได้ - ผู้ที่ได้รับเลือดหรือผลิตภัณฑ์จากเลือดมาก่อน
คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีนคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีน หากให้วัคซีนไม่พร้อมกัน จะต้องเว้นช่วงห่างอย่างไร - วัคซีนที่มีใช้โดยทั่วไปทุกตัวให้พร้อมกันได้ - วัคซีนเชื้อตายจะฉีดห่างกันกี่วันก็ได้ - วัคซีนเชื้อเป็น ถ้าไม่ให้พร้อมกัน ต้องให้ห่างกัน อย่างน้อย 1 เดือน เช่น MMR กับ VZV ทั้งนี้ยกเว้นวัคซีน OPV, OTy, Rota สามารถให้ ร่วมกับวัคซีนตัวอื่นๆได้โดยไม่จำกัดระยะเวลา
ระยะห่างระหว่างวัคซีนระยะห่างระหว่างวัคซีน
ระยะห่างระหว่าง Antibody-Containing Products กับ Vaccines
ระยะห่างระหว่าง Ab-Containing Products กับ Live Vaccines
คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีนคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีน จะให้วัคซีนในทารกคลอดก่อนกำหนดอย่างไร - ให้วัคซีนเหมือนทารกคลอดครบกำหนด โดยให้ ตามอายุหลังเกิด (chronologic age) เหมือน เด็กปกติ - ยกเว้น วัคซีนตับอักเสบบี (HBV) เนื่องจาก ทารกที่อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ หรือ น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,000 กรัม จะ ตอบสนองต่อ HBV เมื่อแรกเกิดได้ไม่ดี
คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีนคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีน จะให้วัคซีนในทารกคลอดก่อนกำหนดอย่างไร - ถ้ามารดาไม่เป็นพาหะ ทารกมีสุขภาพดี ให้ฉีด HBV เข็มแรกเมื่อทารกอายุ 1 เดือน - ถ้ามารดาเป็นพาหะหรือไม่ทราบสภาวะ ให้ฉีด HBV แรกเกิดเป็นเข็มแถม และให้เริ่มฉีดเข็มแรก เมื่อทารกอายุ 1 เดือน (รวมเป็น 4 เข็ม)
คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีนคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีน จะฉีดวัคซีนเข้าสะโพกได้หรือไม่ - ไม่ควรฉีดวัคซีนเข้าสะโพก เพราะบริเวณนี้มี subcutaneous fat มาก อาจทำให้ฉีดไม่เข้า กล้ามเนื้อ - วัคซีนที่มี adjuvants (aluminum) อาจทำให้ เกิด local irritation, inflammation, granuloma formation, abscess, tissue necrosis ถ้าฉีดไม่เข้ากล้ามเนื้อ
คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีนคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีน จะฉีดวัคซีนเข้าสะโพกได้หรือไม่ - อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อ sciatic nerve - ภูมิคุ้มกันต่อวัคซีน hepatitis B และ rabies ขึ้นไม่ดี - กรณีวัคซีน BCG อาจทำให้มีการติดเชื้อซ้ำเติม ได้ง่าย
ตำแหน่งและความยาวของเข็มสำหรับฉีดวัคซีนเข้ากล้ามเนื้อตำแหน่งและความยาวของเข็มสำหรับฉีดวัคซีนเข้ากล้ามเนื้อ Not required aspiration before injection of vaccines
การให้วัคซีนในผู้ป่วยการให้วัคซีนในผู้ป่วย ที่ติดเชื้อหรืออาจจะติดเชื้อ HIV ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องอื่นๆ ที่ได้รับยากดภูมิคุ้มกัน
คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีนคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีน จะให้วัคซีนในเด็กที่ติดเชื้อ HIV หรืออาจจะติดเชื้อ HIV อย่างไร - ให้วัคซีนได้เหมือนเด็กปกติทุกอย่าง ยกเว้น : ไม่ให้ BCG ถ้าเด็กมีอาการ : ให้ OPV หรือ IPV ก็ได้ : ไม่ให้ MMR ถ้า CD4 < 15% : อาจพิจารณาให้วัคซีนเสริม ได้แก่ Influenza, Hib, PCV-7, HAV, VZV ถ้า CD4 > 15%
สำหรับผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องอื่นๆสำหรับผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องอื่นๆ เป็นโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องแต่กำเนิด เป็นโรคที่ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ เช่น มะเร็งเม็ดเลือดขาว มะเร็งต่อมน้ำเหลือง ได้รับยาเคมีบำบัดภายใน 3 เดือน หรือได้รับ ยาสเตียรอยด์ขนาด > 2 มก/กก/วัน นาน มากกว่า 2 สัปดาห์
สำหรับผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องอื่นๆสำหรับผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องอื่นๆ ห้ามรับวัคซีนเชื้อเป็น ได้แก่ OPV, MMR, VZV, OTy, Rota ผู้สัมผัสใกล้ชิด และผู้ที่อาศัยอยู่ในบ้านเดียวกัน - ไม่ควรได้รับวัคซีน OPV, Rota - ควรให้วัคซีนอื่นๆที่อยู่ใน EPI และควร ให้ VZV, Influenza
ข้อห้ามในการให้วัคซีนทุกชนิดข้อห้ามในการให้วัคซีนทุกชนิด ปฏิกิริยาแพ้รุนแรง เช่น anaphylaxis จากการฉีดวัคซีนโด๊สก่อน ปฏิกิริยาแพ้รุนแรงต่อส่วนประกอบของ วัคซีน
ข้อพึงระวังในการให้วัคซีนทุกชนิดข้อพึงระวังในการให้วัคซีนทุกชนิด ความเจ็บป่วยเฉียบพลันปานกลาง หรือรุนแรง ซึ่งอาจมีไข้ร่วมด้วย หรือไม่ก็ได้
กรณีใดที่ควรใช้ DTaP แทน DTwP ?
คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีนคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีน กรณีใดที่ควรใช้ DTaP แทน DTwP ? ร้องกวนไม่หยุด > 3 ชม. และเกิดภายใน 48 ชม. หลังฉีด ไข้สูง > 40.5๐C และเกิดภายใน 48 ชม. หลังฉีด ตัวอ่อนปวกเปียก ไม่ตอบสนอง เกิดใน 48 ชม. หลังฉีด ชัก เกิดภายใน 3 วันหลังฉีด
คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีนคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีน กรณีใดที่ห้ามให้ทั้งวัคซีน DTwP และ DTaP ? Encephalopathy ภายใน 7 วันหลังฉีด (ให้ใช้ DT แทน) Anaphylaxis หรืออาการแพ้ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
SCOPE Hib Pneumococcal Conjugate Vaccine Varicella Vaccine Rotavirus Vaccine Hepatitis A Vaccine Human papilloma virus Vaccine
คำแนะนำการให้วัคซีนเสริมหรือทดแทนในเด็กไทย พ.ศ. 2553 สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย
คำแนะนำการให้วัคซีนเสริมหรือทดแทนในเด็กไทย พ.ศ. 2553 สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย
คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีนคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับวัคซีน วัคซีนฮิบ มีความจำเป็นมากน้อยแค่ไหนสำหรับเด็กไทย - ระบาดวิทยาและความรุนแรงของโรค - ประสิทธิภาพ ความปลอดภัย และ ราคา
วัคซีนฮิบ ควรฉีด 3 หรือ 4 เข็มสำหรับเด็กไทย ?
Recommended Schedule for Doses of Hib vaccine ผู้ที่เสี่ยงต่อโรคฮิบ เช่น ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องไม่มีม้าม หรือ ม้ามทำงานผิดปกติ สำหรับผู้ที่จะทำการตัดม้ามควรฉีดวัคซีน 1 เข็มก่อนตัดม้าม 7-10 วัน
เชื้อ “นิวโมคอคคัส”สามารถก่อโรคอะไรบ้าง?
Global PerspectiveVaccine-Preventable Deaths (WHO) Estimated number of deaths (WHO 2002) 2,000,000 All ages 1,500,000 Children <5 years 1,000,000 500,000 0 Pneumococcal disease Measles Rotavirus Hib Pertussis Tetanus Other* Meningococcus Streptococcus pneumoniae is the leading cause of vaccine-preventable deaths globally *Polio, diphtheria, yellow fever WHO. 2004 Global Immunization Data. Available at: http://www.who.int/immunization_monitoring/data/GlobalImmunizationData.pdf. Accessed July 11, 2008.
Leading Infectious Causes of Global Mortality <5 years >5 years 3.5 3.5 3.0 2.7 2.2 2.5 1.7 2.0 Deaths (millions) 1.1 1.5 0.9 1.0 0.5 0 AIDS Diarrhoea TB Malaria Measles Pneumonia S. pneumoniae: ~1.6 million deaths, including ~800,000 child deaths Source: WHO, 2000 Estimates
ประเทศไทยมีอุบัติการณ์ของประเทศไทยมีอุบัติการณ์ของ โรคไอพีดีเท่าไร ?
Incidence of community-acquired pneumonia in children under 5 years of age in Thailand Nakhon Phanomcase per 100,000 Sa Kaeocase per 100,000 Hannah T. Jordan, et at. Int J infect Dis. 2009;13:355-361
Update Invasive Pneumococcal Disease Burden in Thailand The incidence of pneumococcal bacteria cases requiring hospitalization among children aged < 5 years had a range of 10.6 – 28.9 cases per 100,000 persons(May 2005-June 2007, N=116) 28.9 10.6 Note. Antigen detection only. Patients with alarm-positive blood cultures that failed to grow a pathogen on subculture but had media positive by pneumococcal antigen testing (Binax NOW®). BaggettHC, et al. CID. 2009;48:S65-74
Update Invasive Pneumococcal Disease Burden in Thailand The incidence of IPD in children aged < 5 years per 100,000 persons The estimates, which are close to estimates of the incidence of hospitalized case of pneumococcal bacteremia in the USA before introduction of PCV BaggettHC, et al. CID. 2009;48:S65-74
ข้อปฏิบัติเบื้องต้นในการป้องกันเด็กเล็กจากเชื้อ ไอ พี ดี สอนให้เด็กมีสุขอนามัยที่ดี ล้างมือบ่อยๆ ปิดปากปิดจมูกทุกครั้งที่จามหรือไอ ให้เด็กทานนมแม่เพื่อให้มีภูมิต้านทานจากแม่สู่ลูก ปรึกษาแพทย์เรื่องเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน