530 likes | 687 Views
น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์ 7 กรกฎาคม 2553. ระบบสารสนเทศ กับการบริหารยา รพ.ภูมิพลอดุลยเดช. ร.พ.ภูมิพลอดุลยเดช . โรงพยาบาลหลักของกองทัพอากาศ จำนวนเตียงที่ให้บริการทั้งสิ้น 770 เตียง จำนวนผู้รับบริการผู้ป่วยนอก 672,800 ครั้ง (ม.ค. – ธ.ค. 2552 )
E N D
น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์7กรกฎาคม 2553 ระบบสารสนเทศ กับการบริหารยา รพ.ภูมิพลอดุลยเดช
ร.พ.ภูมิพลอดุลยเดช • โรงพยาบาลหลักของกองทัพอากาศ • จำนวนเตียงที่ให้บริการทั้งสิ้น 770 เตียง • จำนวนผู้รับบริการผู้ป่วยนอก 672,800 ครั้ง (ม.ค. – ธ.ค. 2552) • จำนวนผู้รับบริการผู้ป่วยใน 24,165 ครั้ง (ม.ค. – ธ.ค. 2552) • กำลังพล • แพทย์ 400 คน • พยาบาล 776 คน
วิสัยทัศน์ระบบสารสนเทศรพ.ภูมิพลอดุลยเดชวิสัยทัศน์ระบบสารสนเทศรพ.ภูมิพลอดุลยเดช Digital Hospital In the Year 2554 (2551 – 2554)
Digital Hospitalรพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ. • โครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ทดแทน มูลค่า 75 ล้านบาท • ต.ค. 2549 ถึง ก.ย. 2551 • เริ่มใช้ ม.ค. 2551 เต็มระบบ ก.ค. 2551 • ปรับปรุงระบบบริหารจัดการของ รพ.ใหม่ทั้งระบบโดยใช้ระบบสารสนเทศเป็นเครื่องมือสำคัญ • เน้นการพัฒนาบุคลากรของรพ.ให้มีส่วนร่วมมากที่สุด
Digital Hospitalรพ.ภูมิพลอดุลยเดช • ข้อมูลทั้งหมดอยู่ในรูปแบบดิจิตอล • เน้นการใช้งานในทุกระดับ • อบรมแพทย์ 420 คน (95 %) • อบรมพยาบาล 700 คน • อบรมเจ้าหน้าที่สนับสนุนการรักษา 1,000 คน
เวชระเบียน ตรวจสอบสิทธิ
ห้องตรวจโรค (แพทย์) • บันทึกประวัติ ตรวจร่างกาย • วินิจฉัยโรค (ICD9 ICD10) • สั่งยา การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เอกซเรย์ • นัดผู้ป่วย
ประวัติการใช้ยาย้อนหลังประวัติการใช้ยาย้อนหลัง
ใบแนะนำการตรวจรักษา ใช้แทนใบสั่งยา ใบสั่งตรวจ การรักษาต่าง ๆ และคำแนะนำผู้ป่วย
เปรียบเทียบระยะเวลารอคอยรับยาก่อนและหลังใช้ระบบเปรียบเทียบระยะเวลารอคอยรับยาก่อนและหลังใช้ระบบ นาที ลดลง 24 % ลดลง 37.2 % ลดลง 30.9 % ลดลง 47.2 % ลดลง 15.9 % ลดลง 16 % ลดลง 24.7% ลดลง 35.8 %
ค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาล • สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงมาก • ปีงบประมาณ 2548 จำนวน 3 หมื่นล้านบาท เพิ่มเป็น 8 หมื่นล้านบาทในปีนี้ • นโยบายใช้จ่ายอย่างประหยัดและคุ้มค่าโดยเฉพาะการใช้ยาในผู้ป่วยนอก
นโยบายด้านการบริหารยานโยบายด้านการบริหารยา • คณะกรรมการยาของรพ.ทำหน้าที่กำหนดนโยบายและตรวจสอบการใช้ยาของแพทย์ ร่วมกับองค์กรแพทย์ • แพทย์รับผิดชอบในการสั่งยาทุกกรณี เภสัชกรไม่สามารถเพีมจำนวนยาในใบสั่งยาแพทย์ได้ • แบ่งกลุ่มแพทย์ที่สามารถสั่งยาในกลุ่มควบคุมต่างๆ • กำหนด max dose, ระยะเวลา
หลักการ • แพทย์ที่ไม่มีสิทธิสั่งยาสามารถ remed ยาเดิมของผู้ป่วยได้ แต่ไม่มีสิทธิสั่งยาใหม่ (Authorization) แต่ไม่เกิน 6 เดือน • ยาบางกลุ่มจะถูก lock ให้ต้องสั่งใหม่ทุกครั้ง ไม่สามารถใช้คำสั่ง remed โดยแพทย์ผู้อื่นได้ • มีการบันทึก DUE, SMP,Non ED แบบ electronics
การประเมินการใช้ยา Drug Utilization evaluation
ความเป็นมา • เริ่มทำปี 2545 • พัฒนาการทำ DUE ปี 2550 • ระบบสารสนเทศ 2551
DUE ปี 2545 - 2550 • HA กับงานคุณภาพ : มาตรฐานที่ 3 ของเภสัชกรรม • DUE : Statin, Carbapenam, Vancomycin • เป็นระบบ manual ต้องทำทุกครั้ง • ปัญหา • การไม่ยอมรับในการทำงาน เพิ่มภาระงาน • ความถูกต้อง • การประเมินผล Manual
DUE ปี 2550 • เพิ่ม DUE ในกลุ่ม Statin, Clopidogrel, Thiazolidinedione, Gabapentin • จัดทำแบบฟอร์ม ให้สะดวกในการกรอกข้อมูล และประเมินผล
DUE ปี 2551 - ปัจจุบัน • ใช้ระบบสารสนเทศ • แพทย์เป็นผู้บันทึกใบสั่งยาด้วยตัวเอง ยกเลิกใบสั่งยาผู้ป่วยนอก • การบันทึกข้อมูล DUE, SMP, Non ED indication โดยระบบสารสนเทศ • ใช้ระบบสารสนเทศช่วยในการประเมินผลและ feedback
การประเมินการใช้ยาและเหตุผลการสั่งใช้DUEการประเมินการใช้ยาและเหตุผลการสั่งใช้DUE
เหตุผลประกอบการสั่งใช้ COX II
การควบคุมการใช้ยา ก่อน หลัง บาท
การประเมินผล • สามารถเก็บข้อมูลได้ครบถ้วนมากขึ้น • การตรวจสอบเบื้องต้นผ่าน electronic OPD และรายงานต่างๆ • ทราบแนวทางการใช้ยาของแพทย์แต่ละท่าน • สรุปประเด็น นำเสนอคณก.บริหารและนำไปสู่การแก้ไขร่วมกับองค์กรแพทย์
การประเมินผล • มีระบบรายงานจากสารสนเทศ • รายงานปริมาณยาที่สั่งมากเกินกำหนดในช่วงเวลาที่กำหนด • รายงานผลการทำ DUE ในแต่ละกลุ่ม แยกตามข้อบ่งชี้ แพทย์ และผู้ป่วย • รายงานการใช้ยา 20 อันดับแรกของรพ. • รายงานแพทย์ 50 ท่านแรกที่สั่งยาสูงสุดตามมูลค่า • ฯลฯ
โครงการเชื่อมโยงระบบสารสนเทศ ๒๗ คลินิก • เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลการรักษาพยาบาลผู้ป่วยประกันสุขภาพระหว่างคลินิกชุมชนอบอุ่น 27 คลินิกกับรพ.ภูมิพลอดุลยเดชในแบบ Real Time • ฐานข้อมูลสุขภาพประชากรบัตรทองใน 5 เขตจำนวน 200,000 คน • งบประมาณ สปสช • ระยะเวลาโครงการ ต.ค. 52 ถึง ก.ย. 53
โครงการเชื่อมข้อมูลสารสนเทศ 27 คลินิก
ภาพการทำงานฝั่งคลินิกภาพการทำงานฝั่งคลินิก
เครือข่ายสุขภาพกองทัพอากาศเครือข่ายสุขภาพกองทัพอากาศ • เชื่อมโยงข้อมูลการรักษาพยาบาลแบบ real time ระหว่าง รพ.ภูมิพลอดุลยเดชและ รพ.กองบิน รวมถึงกองเวชศาสตร์ป้องกัน • แพทย์ที่ให้บริการสามารถตรวจสอบข้อมูลการรักษาพยาบาลของผู้ป่วยที่ไปใช้บริการได้ตลอดเวลา • มีฐานข้อมูลรวมของกองทัพอากาศเกี่ยวกับสุขภาพของข้าราชการและครอบครัว • เริ่มโครงการ 2555
เครือข่ายสุขภาพกองทัพอากาศเครือข่ายสุขภาพกองทัพอากาศ รพ.กองบิน สถาบันเวชศาสตร์การบิน กองเวชศาสตร์ป้องกัน รพ.จันทรุเบกษา รพ.ภูมิพลอดุลยเดช
สรุป • ระบบสารสนเทศเป็นเพียงเครื่องมือที่ช่วยในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ • นโยบายของกรมบัญชีกลาง และผู้บริหารระดับสูงและความร่วมมือของแพทย์มีส่วนสำคัญที่สุดที่จะทำให้การควบคุมค่าใช้จ่ายด้านยาของประเทศประสบความสำเร็จ