570 likes | 782 Views
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการส่งเสริมการเกษตรปี 2553. นายอิทธิพล เชียงพรหม หัวหน้ากลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร. กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดลำพูน. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรปี 53. การจัดเก็บบันทึกข้อมูลระบบสารสนเทศ กลุ่มสถาบันเกษตรกร 3 กลุ่มปี 2553.
E N D
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการส่งเสริมการเกษตรปี 2553 นายอิทธิพล เชียงพรหม หัวหน้ากลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดลำพูน
การจัดเก็บบันทึกข้อมูลระบบสารสนเทศกลุ่มสถาบันเกษตรกร 3 กลุ่มปี 2553 • กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จำนวนทั้งหมด 530 กลุ่ม อยู่ในระดับดี 188 กลุ่ม ปานกลาง 286 กลุ่ม ปรับปรุง 56 กลุ่ม • กลุ่มยุวเกษตรกร จำนวนทั้งหมด 47 กลุ่ม ระดับดี 47 กลุ่ม • กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร จำนวนทั้งหมด 130 กลุ่ม ระดับดี 66 กลุ่ม ปานกลาง 50 กลุ่ม ปรับปรุง 31 กลุ่ม
ผลการจัดเก็บ • ปรับปรุงจัดเก็บบันทึกได้ตามกำหนดระยะเวลาและเกินปริมาณเป้าหมายที่ได้กำหนด • ปี 2553 มีการจัดตั้งกลุ่มเพิ่มขึ้น คือ กลุ่มยุวเกษตรกรเพิ่มขึ้น จำนวน 7 กลุ่ม กลุ่มส่งเสริมอาชีพเพิ่มขึ้น 17 กลุ่ม • ทุกอำเภอได้นำข้อมูลสถาบันเกษตรกรขึ้นเว็บไซต์ของอำเภอ • ปัญหาอุปสรรค เจ้าหน้าที่มีงานมากแบบจัดเก็บไม่พอ ระบบอินเตอร์เน็ตช้า
แนวทางการดำเนินการ • ขอให้นำข้อมูลนี้ไปใช้ประโยชน์ในการดำเนินงานพัฒนาสถาบันเกษตรกรของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและควรมีข้อมูลนี้ไว้ ณ ที่ประจำศูนย์บริการฯ ของตนเอง • ปรับปรุง จัดเก็บข้อมูลสถาบันเกษตรกรปี 53 ครั้งต่อไป ตัดยอด ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2553 และทำการบันทึกให้แล้วเสร็จภายใน 15 มกราคม 2554 • ขอให้อำเภอเตรียมการวางแผนในการดำเนินงานครั้งต่อไป
โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้องค์กรเกษตรกรและเคหกิจเกษตรปี 2553 • พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน บ้านหนองยางไคล • ตำบลทาทุ่งหลวง • อำเภอแม่ทา • จังหวัดลำพูน
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหนองยางไคล อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน
ผลการดำเนินงาน • เกิดแหล่งเรียนรู้งานส่งเสริมเคหกิจในจังหวัดลำพูนขึ้น 1 แห่ง • มีวิทยากรในท้องถิ่นที่สามารถ่ายทอดความรู้ให้แก่กลุ่มองค์กร จำนวน 10 คน • มีหลักสูตรเรียนรู้ เรื่องลำไย 1 เรื่อง • เจ้าหน้าที่ได้เรียนรู้เพิ่มสมรรถนะตนเอง เรียน E-Learning ของ กพ. 5 เรื่อง จำนวน 30 คน จบผ่านหลักสูตร 19 ราย • เกษตรกร/กลุ่ม ได้เข้ารับการอบรมความรู้ 5 ด้าน (เคหกิจเกษตร)จำนวน 40 ราย นำไปปฏิบัติตาม 10 ราย
ปัญหาอุปสรรค • การดำเนินงานมีงบประมาณน้อยกว่าปี 2552 ทำให้บางกิจกรรมลดลง • กิจกรรมของกลุ่มมีไม่ต่อเนื่อง ทำให้แหล่งเรียนรู้มี กิจกรรมขาดบางช่วง • วิทยากรเฉพาะด้าน ส่วนใหญ่จะเป็นบุคคลเดียวกัน
งานกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรปี 2553 1. โครงการประกวดเค้กลำไย มีผู้ส่งเข้าประกวด 22 ราย (งบจังหวัด) 27 กพ.53 1 ครั้ง 1 วัน
2. โครงการอบรม พัฒนาเค้กลำไย 1 ครั้ง ณ ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดลำพูน2-3 กย.53 ผู้เข้าร่วมอบรม 40 ราย
3. โครงการแปรรูปลำไยสีทอง(โรงเรือน/เตาอบลำไย) 15 โรงเรือน (กำลังดำเนินการ) 4. อบรมเรื่องการแปรรูปลำไยอบแห้งเนื้อสีทอง (งบกลาง) ร่วมกับสาธารณสุขจังหวัดลำพูน 5. อบรมการแปรรูปลำไยเนื้อสีทอง (GTZ) 1 ครั้ง 80 คน 6. สัมมนาศักยภาพผู้นำกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ระดับจังหวัดลำพูน 1 ครั้ง 27 – 30 สิงหาคม 2553 จำนวน 530 คน อบรมดูงานจังหวัดเพชรบุรี (อบจ.ลำพูน)
กิจกรรมถ่ายทอดความรู้และฝึกทักษะกระบวนการกลุ่มยุวเกษตรกรกิจกรรมถ่ายทอดความรู้และฝึกทักษะกระบวนการกลุ่มยุวเกษตรกร • ดำเนินการในกลุ่มยุวเกษตรกรในโรงเรียนเทศบาลจามเทวี อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน • งบประมาณ 10,000 บาท เป้าหมาย 30 ราย
23 กุมภาพันธ์ 2553 • สมาชิกร่วมโครงการ 30 ราย ชาย 13 คน หญิง 17 คน • อาจารย์ที่ปรึกษา 2 ราย • อาจารย์กฤษณา ปัญญาสูง • อาจารย์ประสาน วงศ์ฝั้น
กิจกรรมที่ถ่ายทอดความรู้และฝึกทักษะกิจกรรมที่ถ่ายทอดความรู้และฝึกทักษะ
กิจกรรมที่ดำเนินการตามกิจกรรมถ่ายทอดความรู้กิจกรรมที่ดำเนินการตามกิจกรรมถ่ายทอดความรู้
ปัญหา • สมาชิกส่วนมากอยู่ระดับประถมปลาย จึงต้องมีการคัดเลือกคณะกรรมการสภายุวเกษตรกรทุกปี • บางกิจกรรมไม่ต่อเนื่อง อยู่ในช่วงปิดเทอม • งบประมาณมีจำนวนจำกัด ทำให้ไม่ต่อเนื่อง • ขาดวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานยุวเกษตรกร
กิจกรรมการศึกษาเรียนรู้กระบวนการกลุ่มยุวเกษตรกรกิจกรรมการศึกษาเรียนรู้กระบวนการกลุ่มยุวเกษตรกร • ดำเนินการในกลุ่มยุวเกษตรกรในโรงเรียนเทศบาลจามเทวี • อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน • งบประมาณ 10,000 บาท • เป้าหมาย 100 ราย
5 มีนาคม 2553 สมาชิกยุวเกษตรกรร่วมกิจกรรม 26 กลุ่ม 172 คนอาจารย์ที่ปรึกษา 26 คน
กระบวนการกลุ่มยุวเกษตรกรกระบวนการกลุ่มยุวเกษตรกร การปลูกพืชผักสวนครัว การเลี้ยงปลาดุกในบ่อดิน การทำปุ๋ยอินทรีย์และน้ำหมักชีวภาพ การเลี้ยงจิ้งหรีดในบ่อซีเมนต์ การกำจัดสนิมเหล็กในน้ำ ชมวิดีทัศน์กิจกรรมของกลุ่มยุวเกษตรกรในโรงเรียนเทศบาลจามเทวี กิจกรรมการศึกษาเรียนรู้กระบวนการกลุ่มยุวเกษตรกร
ปัญหาอุปสรรค สมาชิกยุวเกษตรกรมีความต้องการเข้าร่วมกิจกรรมมาก ขาดการสนับสนุนงบประมาณ สมาชิกยุวเกษตรกรอยู่ในช่วงเตรียมตัวสอบปลายภาค ข้อเสนอแนะ ควรจัดกิจกรรมการศึกษาเรียนรู้ของกลุ่มยุวเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมควรให้สมาชิกยุวเกษตรกรมีการฝึกปฏิบัติด้วย ควรมีการสนับสนุนงบประมาณมากขึ้น เพื่อให้มีการศึกษาเรียนรู้เพิ่มรายละ 10 กิจกรรมการศึกษาเรียนรู้กระบวนการกลุ่มยุวเกษตรกร
สรุปผลโครงการส่งเสริมอาชีพการเกษตรปี 2553 กิจกรรม การจัดกระบวนการเรียนรู้
วัตถุประสงค์ • เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์กลุ่ม • เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางแก้ไข
ดำเนินการทุกอำเภอ • อำเภอบ้านโฮ่ง 15 ราย ทำได้ 25 ราย • อำเภอเมืองลำพูน 17 ราย ทำได้ 20 ราย • อำเภอบ้านธิ 15 ราย ทำได้ 15 ราย • อำเภอแม่ทา 16 ราย ทำได้ 20 ราย • อำเภอป่าซาง 16 ราย ทำได้ 24 ราย • อำเภอลี้ 15 ราย ทำได้ 17 ราย • อำเภอทุ่งหัวช้าง 15 ราย ทำได้ 15 ราย • เวียงหนองล่อง 15 ราย ทำได้ 15 ราย
วิธีการดำเนินงาน • โอนงบประมาณให้อำเภอดำเนินการ จัดทำเวทีเรียนรู้และสรุปแผนการดำเนินงานส่งให้จังหวัด
ผลการดำเนินงาน • ทุกอำเภอ ดำเนินการตามหลักฐานที่อบรม มีการบรรยายความรู้ เรื่องประโยชน์ ความสำคัญของการรวมกลุ่มและมีการสรุป จัดทำแผนการดำเนินงานส่งจังหวัด
ผลกระทบ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานผลกระทบ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงาน 1 ตัวเกษตรกรผู้ร่วมโครงการ -สมาชิกส่วนใหญ่ได้ร่วมกันสรุปปัญหา/แนวทางแก้ไขของกลุ่ม -ผู้นำในหมู่บ้านเห็นความสำคัญและร่วมมือเป็นอย่างดี 2. เจ้าหน้าที่/หน่วยงาน -เมื่อกลุ่มฯมีความเข้มแข็ง ตั้งใจจริง หน่วยงานต่าง ๆ ก็พร้อมให้การสนับสนุน
ข้อเสนอแนะ • ตำบล/อำเภอ/จังหวัด ควรมีการติดตามและเสนอของบประมาณจาก อปท. ให้อย่างต่อเนื่อง
สรุปผลการดำเนินงานการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้านหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปี 2553ภาคการเกษตร
วัตถุประสงค์ • เพื่อให้เกษตรกรได้เรียนรู้แนวทางการจัดการฟาร์ม • เพื่อพัฒนาเกษตรกรให้สามารถประยุกต์ใช้หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงในฟาร์มของตนเองตามศักยภาพ ของครัวเรือน • งบประมาณดำเนินการ 26,040 บาท เป้าหมาย 217 ราย
ผลการดำเนินงาน • ศูนย์การเรียนรู้เกษตรพอเพียง (นายทัศน์ สุทธิกุล) • ตำบลป่าสัก หมู่ที่ 14 • บ้านหนองไซ เป็นจุดถ่ายทอดความรู้ • ดำเนินการ 15- 18 มีนาคม 2553 • เกษตรกรที่เข้าร่วมกระบวนการฯ 225 ราย • จากอำเภอเมืองทั้งหมด • วิทยากรจากเครือข่ายศูนย์ฯ 11 คน
สภาพน้ำท่วม สภาพหลังน้ำลด
สรุปผลโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวปี 2553 กิจกรรม สนับสนุนปัจจัยการผลิตเกษตรสมบูรณ์เพิ่มพูนสุขภาพ ดำเนินการในพื้นที่ตำบลมะกอก อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน สมาชิก จำนวน 70 คน
วัตถุประสงค์ของโครงการฯวัตถุประสงค์ของโครงการฯ • เพื่อให้หญิงมีครรภ์หญิงให้นมลูก มีความรู้ด้านโภชนาการและบริโภคอาหารที่มีคุณค่า • เพื่อการผลิตสินค้าเกษตรในครัวเรือน แล้วนำมาบริโภค เพื่อลดรายจ่าย • เพื่อให้มีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้
วิธีการดำเนินงาน • ประชุมสมาชิกและเสนอแผนความต้องการ (สร.02) • สนับสนุนปัจจัยตามแผนความต้องการ • แยกประเภท (แดง เหลือง เขียว) แล้วมอบปัจจัยการผลิต
วิธีการดำเนินงาน • ส่งรายชื่อสมาชิกที่เสนอแผนความต้องการไปให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ประสานกับเทศบาลตำบลมะกอกและนักวิชาการส่งเสริมการเกษตรตำบลมะกอก ในการจัดทำแปลงเรียนรู้เพื่อขอสนับสนุนพันธุ์พืชลงในแปลง • มีการประเมินผลโครงการฯ ร่วมกับสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรฯและสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดลำพูน หลังการรับเสด็จฯ • จัดทำสรุปรายงานผลโครงการฯ ที่ดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2550 ปี 2553 ทุกหน่วยงาน (อยู่ระหว่างดำเนินการ) เพื่อส่งให้หน่วยงานต่าง ๆรับทราบและรายงานกรมส่งเสริมการเกษตรต่อไป
ผลกระทบ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานผลกระทบ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน • ตัวสมาชิกผู้ร่วมโครงการ • สมาชิกได้รับสนับสนุนปัจจัยครบทุกคน • เกิดความร่วมมือในการพัฒนาหมู่บ้าน/บ้านของตนเองมากขึ้น • มีการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น ขยะ ท่อน้ำทิ้งในบ้านฯ • เกิดการรวมกลุ่มในการทำกิจกรรมร่วมกันมากขึ้น
ผลกระทบ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานผลกระทบ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน • เจ้าหน้าที่หน่วยงาน * มีการทำกิจกรรมร่วมกันมากขึ้น