1 / 13

โรคแท้งติดต่อ ( Brucellosis)

โรคแท้งติดต่อ ( Brucellosis). ระบาดวิทยาและสาเหต ุ เป็นโรคสัตว์ติดคน B. abortus undulant fever, B. melitensis Malta fever เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด gram-negative, cocci และมี 4 ชนิดที่ทำให้เกิดโรคในปศุสัตว์ Brucella abortus มีการระบาดในโค กระบือ ทั่วโลก

fadhila
Download Presentation

โรคแท้งติดต่อ ( Brucellosis)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis) ระบาดวิทยาและสาเหตุ • เป็นโรคสัตว์ติดคน B. abortus undulant fever, B. melitensis Malta fever • เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด gram-negative, cocci และมี 4 ชนิดที่ทำให้เกิดโรคในปศุสัตว์ • Brucella abortusมีการระบาดในโค กระบือ ทั่วโลก • Brucella melitensis มีการระบาดในแพะ* แกะเกือบทั่วโลก esp. เอเซีย • Brucella ovisมีการระบาดในแกะทั่วโลก • Brucella suisมีการระบาดในสุกรเกือบทั่วโลก โรคแท้งติดต่อ

  2. จากการตรวจซีรั่มโคจำนวน 46630 ตัว พบผลบวก 272 ตัวอย่าง คิดเป็น 0.6% การติดต่อ • สัตว์ติดโรคโดยการกิน หรือได้รับการสัมผัสต่อสิ่งขับจากมดลูก รก ซากลูกที่แท้ง คนติดจากสัตว์โดยการสัมผัสสิ่งดังกล่าว สำหรับสุกรพบว่าการติดต่อที่สำคัญคือ การผสมพันธุ์

  3. การติดต่อ • การเอารก ซากลูกสัตว์ที่แท้งให้สุนัขกิน ทำให้สุนัขติดโรคได้(aberrant host) • เชื้อที่ยัง virulent อยู่ จะมีความสามารถ ในการ บุกรุกเข้าทางเยื่อบุ/เยื่อเมือก หรือผิวหนังที่มีบาดแผล • เมื่อเชื้ออยู่นอกตัวสัตว์ จะทนต่อสภาพแวดล้อมได้ไม่นาน • การจัดการมีผลต่อการติดต่อและการระบาดของโรคด้วย เช่น seasonal calving โรคแท้งติดต่อ

  4. หลังจากที่ได้รับเชื้อเข้าไปในร่างกาย เชื้อจะไปอยู่ที่ต่อมน้ำเหลือง ม้าม เต้านมและมดลูก หรือใน sex glands ของเพศผู้ • ในสุกรเชื้อมักจะไปอยู่ที่ข้อและกระดูกร่วมด้วย • การที่เชื้อไปอยู่ในเต้านม ก็จะทำให้เชื้อถูกขับออกมาทางน้ำนม และทำให้ผู้บริโภคติดเชื้อโดยการดื่มนมซึ่งไม่ได้ผ่านการฆ่าเชื้อได้ โรคแท้งติดต่อ

  5. อาการและวิการ • อาการของโรคมีความผันแปรตามปริมาณเชื้อที่ได้รับ ทางที่เชื้อเข้าสู่ร่างกาย และระยะของการตั้งท้อง • สัตว์เพศเมียจะเกิดการแท้ง โดยมีระยะฟักตัวของโรค > 2 เดือนในโค (แต่ในโคท้องแรกมักแท้งในระยะตอนปลายของการตั้งท้อง), ~3-4 อาทิตย์ในแพะ, ~5 อาทิตย์ในสุกร • สัตว์เพศผู้เกิดอาการอัณฑะอักเสบ (epididymitis) และอักเสบใน accessory sex glands • complication อื่นๆ เช่น ผสมติดยาก มดลูกอักเสบเรื้อรัง • ในสุกรมักมีรายงานเรื่องฝีและข้ออักเสบร่วมด้วย โรคแท้งติดต่อ

  6. สัตว์เพศผู้บางตัวมีอาการอัณฑะอักเสบหรือ ข้ออักเสบ แต่ส่วนใหญ่จะไม่แสดงอาการ ภาพหน้าตัดอัณฑะโค ข้างซ้ายมีลักษณะ granuloma ที่มา2 ภาพซ้าย: สถาบันสุขภาพสัตว์ โรคแท้งติดต่อ

  7. ลักษณะมดลูกอักเสบในโคเพศเมีย ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดการผสมติดยาก ต่อมน้ำเหลืองอักเสบ ที่มาภาพ: สถาบันสุขภาพสัตว์ โรคแท้งติดต่อ

  8. ลูกสัตว์ที่แท้ง มักแท้งในช่วงปลายของการตั้งท้อง และแท้งเฉพาะในท้องแรก แต่สิ่งขับจากมดลูกทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคไปยังวัวตัวอื่นในฟาร์ม ลูกที่แท้ง รกอักเสบมีจุดเนื้อตายและจุดเลือดออก ที่มาภาพ ซ้าย: สถาบันสุขภาพสัตว์ กรมปศุสัตว์ ขวา:www.calf.vetmed.ucdavis/ edu โรคแท้งติดต่อ

  9. การชันสูตรโรคอย่างง่าย โดยใช้วิธี plate agglutination test ใช้เลือด 1หยด ผสมกับ antigen 1 หยด ถ้ามีภูมิคุ้มต่อโรค จะเกิดการตกตะกอนขึ้น หากทำวัคซีนป้องกันโรคมาก่อน จะมีภูมิคุ้มทำให้เกิดการตกตะกอนได้เช่นกัน เพราะฉะนั้น จะต้องทราบประวัติการทำวัคซีน และหากให้ผลสงสัย จะต้องตรวจซ้ำด้วยวิธีอื่นที่มีความจำเพาะมากขึ้น ลักษณะตะกอน โรคแท้งติดต่อ

  10. การวินิจฉัยโรค • 1. อาการอัณฑะอักเสบในสัตว์เพศผู้ และการแท้งในสัตว์เพศเมีย สุกรจะมีอาการข้ออักเสบร่วมด้วย • 2. การเก็บตัวอย่างซีรั่มเพื่อตรวจโรค • อย่าลืมประวัติการทำวัคซีน • ในกรณีที่ให้ผลสงสัย ควรเก็บซีรั่มตรวจซ้ำ ห่างจากครั้งแรก 1 เดือน (paired serum) • 3. เก็บตัวอย่างจากรกหรือลูกที่แท้งเพื่อตรวจหาเชื้อ การรักษา • การรักษาโดยใช้ยาปฏิชีวนะทั่วไปไม่ได้ผลเนื่องจากเชื้อมีลักษณะ intracellular characteristic โรคแท้งติดต่อ

  11. การเก็บตัวอย่างลูกที่แท้งจาก stomach content แล้วนำไปย้อมดูเชื้อที่อยู่ใน macrophage ที่มาภาพ: สถาบันสุขภาพสัตว์ โรคแท้งติดต่อ

  12. การควบคุมและป้องกันโรคการควบคุมและป้องกันโรค 1. โดย screening test คือ เจาะเลือดเพื่อเก็บซีรั่มตรวจหาภูมิคุ้มโรคก่อนนำสัตว์ใหม่เข้าฝูง • ดังนั้นโคนมทุกตัวจึงจำเป็นต้องมีการตรวจสอบโรคนี้ก่อนนำเข้าฝูง และจะต้องซักประวัติการทำวัคซีนประกอบด้วย เนื่องจากภูมิคุ้มที่ได้จากการทำวัคซีนไม่สามารถแยกจากภูมิคุ้มที่เกิดจากการติดโรค โดยการใช้วิธีตรวจธรรมดา 2. การใช้พ่อพันธุ์รับจ้างต้องทราบประวัติปลอดโรคนี้ โรคแท้งติดต่อ

  13. 3. ทำวัคซีนในการเลี้ยงสัตว์ในแหล่งที่มีการระบาดของโรค • ใช้ killed B.abortus strain 45/20 หรือ • ใช้ attenuated B.abortus strain 19 (ในภาคใต้ ไม่ต้องทำวัคซีน) 4. ดูแลทำคลอดสัตว์ในคอกคลอดเป็นรายตัวอย่างถูกสุขลักษณะ 5. มีขบวนการฆ่าเชื้อในน้ำนมก่อนส่งออกไปสู่ผู้บริโภค โรคแท้งติดต่อ

More Related