560 likes | 1.32k Views
สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม. กระบวนการจัดหาพัสดุ. การจัดทำเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การเช่า การแลกเปลี่ยน. Ex.
E N D
สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐสำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535และที่แก้ไขเพิ่มเติม
กระบวนการจัดหาพัสดุ • การจัดทำเอง • การซื้อ • การจ้าง • การจ้างที่ปรึกษา • การจ้างออกแบบและควบคุมงาน • การเช่า • การแลกเปลี่ยน
Ex • ส่วนราชการเริ่มจัดหาได้เมื่อใด - ระเบียบฯ ข้อ 13 กำหนดว่า หลังจากได้ทราบยอดเงิน ที่จะนำมาใช้ในการจัดหา ให้ส่วนราชการรีบดำเนินการจัดหาตามแผน คำว่า “ทราบยอดเงิน” คือ เมื่อใด คำวินิจฉัย กวพ. - เงินงบประมาณ งบผ่านสภา - เงินงบกลาง สำนักงบประมาณอนุมัติแล้ว
Ex • การจ้าง และการเช่า ต่างกันอย่างไร - จ้างเขาทำให้ - เช่าเราทำเอง
เจ้าหน้าที่พัสดุ หน.เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ-จ้าง คณะกรรมการต่าง ๆ /ผู้ควบคุมงาน โดยตำแหน่ง ข้าราชการ โดยแต่งตั้ง ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ/ชั่วคราว โดยตำแหน่ง โดยแต่งตั้ง อธิบดี (ส่วนกลาง) ผู้ว่าราชการจังหวัด (ส่วนภูมิภาค) หัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวง รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ } ข้าราชการ
ขอความเห็นชอบ วิธีจัดซื้อจัดจ้างทั่วไป 6 วิธี - หัวหน้าส่วนราชการ - ปลัดกระทรวง/ทบวง - รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ดำเนินการ ขออนุมัติ หัวหน้าส่วนราชการ การทำสัญญา - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ - คณะกรรมการตรวจการจ้าง - ผู้ควบคุมงาน การตรวจรับ ขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้าง
Ex • ถามว่า หากไม่ทำตามลำดับขั้นตอน จะทำย้อนขั้นตอนได้หรือไม่ - ทำได้ เฉพาะวิธีตกลงราคาเร่งด่วน - องค์ประกอบ - จำเป็นเร่งด่วน - ไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน - ดำเนินการปกติไม่ทัน
การจัดซื้อหรือจ้าง • วิธีตกลงราคา ไม่เกิน 100,000 บาท • วิธีสอบราคา เกิน 100,000 บาท ไม่เกิน 2,000,000 บาท • วิธีประกวดราคา เกิน 2,000,000 บาท • วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท แต่มีเงื่อนไข • วิธีกรณีพิเศษ ไม่มีกำหนดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข • วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) ตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด วิธีการจัดหา
Exการจัดซื้อจัดจ้างแบบแข่งขัน กับ แบบไม่แข่งขันมีหลักการแตกต่างกันอย่างไร • แบบไม่แข่งขัน • ต้องตรวจสอบได้ • แบบแข่งขัน • ต้องเปิดเผย - ประกาศทราบทั่วกัน • ต้องโปร่งใส - ตรวจสอบได้ • ต้องเป็นธรรม - เงื่อนไข เสมอภาค ไม่ขัดขวาง - ผ่อนปรน ไม่ก่อให้เกิดการ ได้เปรียบเสียเปรียบ - ตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน
การตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ร่วมกันการตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน • ตรวจการมีส่วนได้เสียกันทั้งทางตรงและทางอ้อม • ทางตรงคือตัวจริง • ทางอ้อมคือตัวแทน การมีส่วนได้เสียไม่ว่าทั้งทางตรงหรือทางอ้อม • ความสัมพันธ์กันในเชิงบริหาร • ความสัมพันธ์กันในเชิงทุน • มีความสัมพันธ์ในเชิงไขว้ ระหว่างบริหารกับทุน
บริษัท A บริษัท B หจก. C บริหาร-นาย ก. กรรมการผู้จัดการ -นาย ก. เป็น หุ้นส่วนผู้จัดการ -นาย ข. กรรมการผู้จัดการ ทุน– นาย ก. ถือหุ้น 26% – นาย ก. เป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จำกัดความรับผิดชอบ – นาย ก. ถือหุ้น 20% ไขว้– นาย ก.ถือหุ้น 26% - นาย ก.เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ
Ex • ในการประกวดราคาครั้งหนึ่ง มีผู้เสนอราคา 2 ราย คือ บ. TOT จำกัด (มหาชน) และ บ. กสท. โทรคมนาคม จำกัด(มหาชน) จะพิจารณาถึงการมีผลประโยชน์ร่วมกันอย่างไร กวพ. วินิจฉัยว่า - มีกระทรวงการคลัง ถือหุ้นรายใหญ่ทั้ง 2 บริษัท ต้องถือว่ามีผลประโยชน์ร่วมกันในเชิงทุน ต้องห้ามเสนอราคามาในคราวเดียวกัน - กรรมการบริษัทบางรายเป็นบุคคลเดียวกัน
Ex • ต้องตั้งคณะกรรมการร่าง TOR หรือไม่ - ระเบียบฯ 35 TORจะเอามาจากไหนก็ได้ - ต่างกับ e-Auction ต้องมีคณะกรรมการกำหนด TOR
กรรมการ ซื้อ/จ้าง คณะ ก.ก. เปิดซองสอบราคา คณะ ก.ก. รับและเปิดซองประกวดราคา คณะ ก.ก. พิจารณาผลการประกวดราคา คณะ ก.ก. จัดซื้อโดยวิธีพิเศษ คณะ ก.ก. จัดจ้างโดยวิธีพิเศษ คณะ ก.ก. ตรวจรับพัสดุ คณะ ก.ก. ตรวจการจ้าง+ผู้ควบคุมงาน
Ex • ถ้าถึงเวลาเปิดซองประกวดราคา ประธานยังไม่มาปฏิบัติหน้าที่จะทำอย่างไร • ถึงเวลาเคาะราคา e-Auction ประธานยังไม่มาปฏิบัติหน้าที่จะทำอย่างไร กวพอ. อนุมัติยกเว้นให้กรรมการเลือกกันเองทำหน้าที่เป็นประธานกรรมการชั่วคราวดำเนินการ และรายงานประธานตัวจริง และผู้แต่งตั้งทราบ (ที่ กค (กวพอ) 0408.4/ว 365 ลงวันที่ 22 ตุลาคม 2550)
Exส่วนราชการหารือ • กรรมการในคณะกรรมการประกวดราคาe-Auctionเป็นกรรมการในคณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้หรือไม่ กวพ.อ. วินิจฉัยว่าไม่ได้ - หลักการ วินิจฉัยตามระเบียบฯ 35กรรมการพิจารณาผล – ห้ามเป็น กรรมการตรวจรับพัสดุ ดังนั้น กรรมการ e-Auction ห้ามเป็นกรรมการตรวจรับพัสดุ
-ประธาน 1 คน -กรรมการอย่างน้อย 2 คน แต่งตั้งจากข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ กรณีจำเป็นหรือเพื่อประโยชน์ราชการ แต่งตั้งบุคคลอื่นอีกไม่เกินสองคนร่วมด้วยก็ได้ **การแต่งตั้งคณะกรรมการจะต้องแต่งตั้งเป็นครั้งๆ ไป** (ไม่จำเป็นต้องมีรูปแบบ) องค์ประกอบของคณะกรรมการ
Exหัวหน้าส่วนราชการไม่เห็นด้วยกับคณะกรรมการจะทำอย่างไรExหัวหน้าส่วนราชการไม่เห็นด้วยกับคณะกรรมการจะทำอย่างไร • ระเบียบฯ 35 หัวหน้าส่วนราชการมีความเห็นแย้งกับคณะกรรมการดำเนินการตามหัวหน้าส่วนราชการ • ระเบียบฯ 49 หัวหน้าส่วนราชการมีความเห็นแย้งกับคณะกรรมการ ยกเลิก
ตกลงราคาไม่เกิน 100,000 บาท ขอความเห็นชอบ หน. เจ้าหน้าที่พัสดุเจรจาตกลง ทำข้อตกลง ตรวจรับ
สอบราคาเกิน 100,000 บาท ไม่เกิน 2,000,000 บาท ขอความเห็นชอบ ประกาศ เปิดซอง ภายในเวลา ยื่น-รับซอง ตรวจสอบผลประโยชน์ร่วมกัน พิจารณาผล ขออนุมัติ ประกาศแจ้งผล
ประกวดราคา ขอความเห็นชอบ ประกาศ ปิด-ส่ง 5 แห่ง เปิดซอง ภายในเวลา EX ก่อนหน้าห้ามรับ ยื่น-ซอง วันเวลาเดียว ตรวจสอบผลประโยชน์ร่วมกัน พิจารณาผล ขออนุมัติ ขออนุมัติ • ออกประกาศ ณ ที่ทำการ • ส่งวิทยุและหนังสือพิมพ์ • ส่งกรมประชาสัมพันธ์ • ส่งองค์การสื่อสารมวลชน • ส่งศูนย์รวมข่าวประกวด ราคา • ส่ง สตง.
การดำเนินการ สอบราคา - ประกวดราคา คณะกรรมการฯ เป็นผู้ดำเนินการคัดเลือก • ตรวจสอบคุณสมบัติผู้เสนอราคา,เงื่อนไข,รูปแบบรายการละเอียด คุณลักษณะเฉพาะ • คัดเลือกสิ่งของ/งานจ้าง,คุณสมบัติผู้เสนอราคาที่เป็นประโยชน์ต่อราชการ • พิจารณาราคา • ราคาเท่ากันหลายราย ยื่นซองใหม่ • สูงกว่าวงเงิน ปฏิบัติตาม ข้อ 43 (ต่อรอง) • ถูกต้องรายเดียว ประกวด - ยกเลิก/รับ , สอบ - รับ
การประกาศข่าวการประกวดราคาการประกาศข่าวการประกวดราคา ส่งไปรษณีย์ EMS • ประกาศ ณ ทำการ • ส่งวิทยุและหนังสือพิมพ์ • ส่งกรมประชาสัมพันธ์ • ส่งองค์การสื่อสารมวลชน • ส่งศูนย์รวมข่าวประกวดราคา • ส่ง สตง. • ในตู้ปิดประกาศมีกุญแจปิด • มีผู้ปิดและผู้ปลดประกาศ ซึ่งมิใช่ คนเดียวกัน และมีพยานรับรองด้วย
การดำเนินการซื้อโดยวิธีพิเศษ (1) รายงาน ข้อ 27 หัวหน้าส่วนราชการ จนท. พัสดุ ให้ความเห็นชอบ 29 เงื่อนไข (ข้อ 23) วงเงินเกินหนึ่งแสนบาท วิธีการ (ข้อ 57) เจรจาตกลงราคา - จะขายทอดตลาด เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาและต่อรอง - เร่งด่วนช้าเสียหาย - ราชการลับ เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาและต่อรอง - ซื้อเพิ่ม (Repeat Order) เจรจาผู้ขายรายเดิม เงื่อนไขเดิม ราคาเดิมหรือดีกว่า
เงื่อนไข (ข้อ 23) วงเงินเกินหนึ่งแสนบาท วิธีการ (ข้อ 57) สั่งตรงโดยให้หน่วยงานอื่นในต่างประเทศสืบราคาให้ - ซื้อจากต่างประเทศ เชิญผู้ผลิต/ผู้แทนจำหน่ายมาเสนอราคาและต่อรอง - จำเป็นต้องระบุยี่ห้อ - ซื้อที่ดินและสิ่งก่อสร้างเฉพาะ เชิญเจ้าของมาตกลงราคา สืบราคาจากผู้มีอาชีพขายและผู้เสนอราคาที่ถูกยกเลิกไป (ถ้ามี) ต่อรองราคา - ดำเนินงานโดยวิธีอื่นแล้ว ไม่ได้ผลดี การดำเนินการซื้อโดยวิธีพิเศษ (2)
การดำเนินการจ้างโดยวิธีพิเศษ (1) รายงาน ข้อ 27 หัวหน้าส่วนราชการ จนท. พัสดุ ให้ความเห็นชอบ 29 เงื่อนไข (ข้อ 24) วงเงินเกิน 1 แสนบาท วิธีการ (ข้อ 58) - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา - กรณีเป็นงานที่ต้องใช้ช่างฝีมือโดย เฉพาะหรือชำนาญโดยพิเศษ - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา - กรณีเป็นงานจ้างซ่อมที่ไม่ทราบ ความเสียหาย - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา - เร่งด่วนช้าเสียหาย
เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคาเชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา ราชการลับ เจรจากับผู้รับจ้างรายเดิม ราคาต่ำกว่าหรือราคาเดิม จ้างเพิ่ม (Repeat Order) สืบราคาจากผู้มีอาชีพรับจ้างและผู้เสนอราคาที่ถูกยกเลิกไป (ถ้ามี) ต่อรองราคา ดำเนินการโดยวิธีอื่นไม่ได้ผลดี การดำเนินการจ้างโดยวิธีพิเศษ (2)
(ข้อ27) จนท.พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ (ข้อ29) • วงเงินเกิน 100,000 บาท หน.ส่วนราชการเป็นผู้สั่งซื้อหรือจ้าง - วงเงินไม่เกิน 100,000 บาท เป็นอำนาจ หัวหน้า.จนท.พัสดุ ติดต่อตกลงราคา กับผู้ขายหรือผู้รับจ้าง เงื่อนไข : ส่วนราชการ /รัฐวิสาหกิจหน่วยงานตามกฎหมายท้องถิ่น 1. เป็นผู้ทำ/ผลิตเองและนายกรัฐมนตรีอนุมัติ หลักการแล้ว 2. มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรี ให้ผู้ซื้อ/จ้าง การดำเนินการซื้อและการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ
สัญญา สัญญาหมายถึง การใด อันได้กระทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งเน้นโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลหรือนิติบุคคล ตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา หลัก • ห้ามแก้ไข เปลี่ยนแปลง ข้อยกเว้น • กรณีจำเป็น ไม่ทำให้ราชการเสียประโยชน์ • กรณีแก้ไขเพื่อประโยชน์ของทางราชการ อำนาจอนุมัติ • หัวหน้าส่วนราชการ
หลัก การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา • ก่อนตรวจรับ EXส่วนราชการหารือ แก้ไขการวางหลักประกันจากเงินสด เป็นหนังสือค้ำประกันธนาคาร จะทำได้หรือไม่ กวพ. วินิจฉัยว่า - แก้หลังตรวจรับได้ กรณีมิใช่เนื้องาน / พัสดุตามสัญญา - แก้จากเงินสดเป็นหนังสือค้ำประกันธนาคาร ไม่ทำให้ราชการเสียประโยชน์
การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลาทำการตามสัญญา(139) สาเหตุ (1) เหตุเกิดจากความผิด ความบกพร่องของราชการ (2) เหตุสุดวิสัย (3) เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิด เงื่อนไข • ต้องแจ้งเหตุตาม ข้อ 139 (2) (3) ภายใน 15 วัน นับแต่เหตุสิ้นสุด • พิจารณาได้ตามจำนวนวันที่มีเหตุเกิดขึ้นจริง อำนาจอนุมัติ • หัวหน้าส่วนราชการ
Exส่วนราชการหารือว่า • โรงพยาบาลจัดซื้อถุงมือยาง ผู้ขายอ้างว่า โรงงานผู้ผลิตตามที่กำหนดเกิดไฟไหม้ กวพ. วินิจฉัยว่า • เป็นพฤติกรรมอื่นที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิด (กรณีนี้หากพฤติการณ์เป็นพ้นวิสัยแล้ว ไม่ต้องรับผิด)
ตรวจรับพัสดุ/จ้างทั่วไปตรวจรับพัสดุ/จ้างทั่วไป • ปฏิบัติตามข้อ 71 • ตรวจตามสัญญา • ตรวจให้เสร็จภายใน 5 วันทำการ นับแต่วันส่งมอบ ไม่รวมทดลอง/ทดสอบทางเทคนิคหรือทางวิทยาศาสตร์ (ที่ นร 1305/ว 5855 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2544)
ตรวจการจ้างก่อสร้าง • ปฏิบัติตามข้อ 72 • ตรวจตามสัญญา • ตรวจให้เสร็จภายใน 3 วัน (รายงวด) 5 วัน (งวดสุดท้าย) นับแต่ผู้ควบคุมงานรายงานประธานกรรมการ (ที่ นร 1305/ว 5855 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2544)