1 / 42

แนวทางการจัดทำรายงานการติดตามประเมินผล การควบคุมภายในประจำปี 2556

แนวทางการจัดทำรายงานการติดตามประเมินผล การควบคุมภายในประจำปี 2556. วัตถุประสงค์. 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับเครื่องมือ ในการประเมิน. 2. เพื่อให้มีความรู้และสามารถ จัดทำรายงาน การควบคุมภายใน. สพฐ.กำหนดหน่วยรับตรวจและส่วนงานย่อย ดังนี้. แบบฟอร์มของหน่วยรับตรวจ. แบบ ติดตาม

Download Presentation

แนวทางการจัดทำรายงานการติดตามประเมินผล การควบคุมภายในประจำปี 2556

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการจัดทำรายงานการติดตามประเมินผลแนวทางการจัดทำรายงานการติดตามประเมินผล การควบคุมภายในประจำปี 2556

  2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับเครื่องมือ ในการประเมิน 2. เพื่อให้มีความรู้และสามารถ จัดทำรายงาน การควบคุมภายใน

  3. สพฐ.กำหนดหน่วยรับตรวจและส่วนงานย่อย ดังนี้

  4. แบบฟอร์มของหน่วยรับตรวจแบบฟอร์มของหน่วยรับตรวจ แบบ ติดตาม ปอ. 3 แบบ ปอ.1 แบบ ปอ.2 แบบ ปอ.3 รายงานผล การติดตาม การปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน หนังสือรับรองการประเมินผล การควบคุมภายใน รายงานผล การประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน รายงานแผน การปรับปรุง การควบคุมภายใน

  5. แบบฟอร์มของส่วนงานย่อยแบบฟอร์มของส่วนงานย่อย แบบติดตาม ปย. 2 แบบ ปย. 2 แบบ ปย. 1 รายงานผล การประเมินองค์ประกอบของ การควบคุมภายใน รายงาน การประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน รายงานผล การติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงภายใน

  6. รอบ 12 เดือน (โรงเรียน) ก. ส่วนงานย่อย (สำนัก / กลุ่ม /งาน) 1. นำแบบ ปย.2 (ปี 55)มาติดตามผล การปฏิบัติงาน แล้วสรุปลงใน แบบติดตาม ปย. 2 (สพฐ.ได้กำหนด แบบให้) สิ้นสุด ณ วันที่ 30 ก.ย. 2556

  7. งาน. (บริหารวิชาการ, บริหารงบประมาณ, บริหารบุคคล, บริหารทั่วไป)รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2556 แบบติดตาม ปย. 2 ชื่อผู้รายงาน...........................ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........

  8. โรงเรียน...............รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในณ วันที่ 30 กันยายน 2556 แบบติดตาม ปย.2

  9. 2. ประเมินองค์ประกอบของ การควบคุมภายใน (5 องค์ประกอบ) แล้วสรุปลงในแบบ ปย. 1 สิ้นสุด ณ วันที่ 30 ก.ย. 2556

  10. งาน (บริหารวิชาการ, บริหารงบประมาณ, บริหารบุคคล, บริหารทั่วไป) รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายในณ วันที่ 30 กันยายน 2556 ปย. 1 ชื่อผู้รายงาน...........................ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........

  11. 1.สภาพแวดล้อม ของการควบคุม จุดที่ควรประเมิน • 1. ปรัชญาและรูปแบบการทำงานของผู้บริหาร • (5 ประเด็น) • 2. ความซื่อสัตย์และจริยธรรม • (7 ประเด็น) • 3. ความรู้ ทักษะและความสามารถของบุคลากร • (3 ประเด็น ) • 4. โครงสร้างองค์กร (3 ประเด็น) • 5. การมอบอำนาจและหน้าที่ความรับผิดชอบ • (2 ประเด็น ) • 6. นโยบายวิธีบริหารด้านบุคลากร • (5 ประเด็น ) • 7. กลไกการติดตามการตรวจสอบการปฏิบัติงาน • ( 2 ประเด็น ) • 8. อื่น ๆ ( โปรดระบุ ) เป็นพื้นฐานที่สำคัญที่สุดของการบริหารองค์กรผู้กำกับ ดูแล ฝ่ายบริหารและบุคลากรของหน่วยรับตรวจต้องสร้างสภาพแวดล้อมให้บุคลากรทุกระดับมีทัศนคติที่ดีต่อการควบคุมภายใน โดยส่งเสริมให้เกิดจิตสำนึกในเรื่องความซื่อสัตย์ จริยธรรม ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายและความสำคัญของประสิทธิผลการควบคุมภายใน

  12. 2. การประเมินความเสี่ยง จุดที่ควรประเมิน ฝ่ายบริหารต้องให้ความสำคัญและประเมินความเสี่ยงซึ่งมีผลกระทบต่อผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของหน่วยรับตรวจที่เกิดจากปัจจัยภายในและภายนอกด้วยวิธีการที่เป็นระบบอย่างเพียงพอและเหมาะสม 1. วัตถุประสงค์ระดับหน่วยรับตรวจ ( 2 ประเด็น) 2. วัตถุประสงค์ระดับกิจกรรม ( 3 ประเด็น ) 3. การระบุปัจจัยเสี่ยง ( 2 ประเด็น ) 4. การวิเคราะห์ความเสี่ยง ( 2 ประเด็น ) 5. การกำหนดวิธีการควบคุมเพื่อ ป้องกันความเสี่ยง (4 ประเด็น) 6. อื่น ๆ ( โปรดระบุ )

  13. จุดที่ควรประเมิน 3. กิจกรรมการควบคุม 1. กิจกรรมกำหนดขึ้นตามวัตถุประสงค์และผลการประเมิน ความเสี่ยง 2. บุคลากรทุกคนทราบและเข้าใจวัตถุประสงค์ของกิจกรรม 3. กำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่และวงเงินอนุมัติของผู้บริหาร ไว้ชัดเจนและเป็นลายลักษณ์อักษร 4. มีมาตรการป้องกัน ดูแลรักษาทรัพย์สิน อย่างรัดกุมและเพียงพอ 5. แบ่งแยกหน้าที่การปฏิบัติงานที่สำคัญหรือที่เสี่ยงต่อความ เสียหาย เช่น การอนุมัติ การบันทึกบัญชี ดูแลรักษาทรัพย์สิน 6. มีข้อกำหนดเป็นลายลักษณ์อักษรและบทลงโทษ 7. มีมาตรการติดตามและตรวจสอบให้การ ดำเนินงานขององค์กร เป็นไปตามกฎระเบียบข้อบังคับ และมติ ครม. เป็นวิธีการต่างๆที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงานซึ่งกำหนดหรือออกแบบเพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ฝ่ายบริหารต้องจัดให้มีกิจกรรมการควบคุมที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อป้องกันหรือลดความเสียหาย ความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นและให้สามารถบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน

  14. 4. สารสนเทศและ การสื่อสาร จุดที่ควรประเมิน 1. มีระบบสารสนเทศและสายการรายงานสำหรับการบริหารและตัดสินใจของฝ่ายบริหาร 2. จัดทำและรวบรวมข้อมูล งานการเงิน การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และมติ ครม. ไว้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน 3. จัดเก็บข้อมูล /เอกสารการจ่ายเงินและการบันทึกบัญชีไว้ครบถ้วน สมบูรณ์ เป็นหมวดหมู่ 4. รายงานข้อมูลที่จำเป็นทั้งจากภายในและภายนอกให้ผู้บริหารทุกระดับ 5. มีระบบติดต่อสื่อสารทั้งภายในและภายนอกอย่างพอเพียง เชื่อถือได้ และทันกาล 6. สื่อสารชัดเจนให้ทุกคนทราบและเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง เกี่ยวกับการควบคุมภายในปัญหา จุดอ่อน ที่เกิดขึ้นและแนวทางแก้ไข 7. มีกลไก ช่องทางให้บุคลากรสามารถเสนอข้อคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะ ในการปรับปรุงการดำเนินงานขององค์กร 8. รับฟังและพิจารณาข้อร้องเรียนจากภายนอก ส่วนสนับสนุนที่สำคัญต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการกำหนด กลยุทธ์ ประเมินความเสี่ยงและกิจกรรมการควบคุม ฝ่ายบริหารต้องจัดให้ มีสารสนเทศอย่างเพียงพอ เหมาะสม เชื่อถือได้ และสื่อสารให้ฝ่ายบริหารและบุคลากรอื่น ๆที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกหน่วยรับตรวจ ซึ่งจำเป็นต้องใช้สารสนเทศนั้นในรูปแบบที่เหมาะสมและทันเวลา

  15. 5.การติดตามประเมินผล จุดที่ควรประเมิน 1. เปรียบเทียบแผนและผลการดำเนินงานและรายงานให้ผู้กำกับดูแลทราบ เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ 2. กรณีผลไม่เป็นตามแผนมีการดำเนินการแก้ไข 3. มีการติดตามผลในระหว่างการปฏิบัติงาน 4. มีการติดตามและตรวจสอบการปฏิบัติตามระบบ การควบคุมภายใน อย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ 5. มีการประเมินผลความเพียงพอและประสิทธิผล ของการควบคุมภายใน และประเมินการบรรลุตาม วัตถุประสงค์ขององค์กรในลักษณะ การประเมิน CSA และ/หรือประเมินอย่างเป็นอิสระอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง 6. มีการรายงานผลการประเมินและรายงานการ ตรวจสอบของผู้ตรวจสอบ ภายในโดยตรง 7. ติดตามผลการแก้ไข ข้อบกพร่องที่พบจากการประเมินและการตรวจสอบ ของผู้ตรวจสอบภายใน 8. กำหนดให้ผู้บริหารต้องรายงานต่อผู้กำกับดูแลใน กรณีที่มีการทุจริตหรือ สงสัย ว่าทุจริต ไม่ปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มติ ครม. ที่อาจมี ผลกระทบต่อองค์กร อย่างมีนัยสำคัญ เป็นวิธีการที่ช่วยให้ฝ่ายบริหารมั่นใจว่าระบบการควบคุมภายในมีการปฏิบัติตาม ฝ่ายบริหารต้องจัดให้มีการติดตามประเมินผล ในระหว่างการปฏิบัติงาน และเป็นรายครั้ง อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจว่าระบบการควบคุมภายในที่กำหนดหรือออกแบบไว้เพียงพอ เหมาะสม มีประสิทธิผลหรือต้องปรับปรุง

  16. การวิเคราะห์ความเสี่ยงการวิเคราะห์ความเสี่ยง

  17. มีความเสี่ยงสูงมาก มีความเสี่ยงสูง มีความเสี่ยงปานกลาง มีความเสี่ยงต่ำ การวิเคราะห์ระดับความเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง (Degree of Risk) 5 4 3 2 1 ผลกระทบของความเสี่ยง 1 2 3 4 5 โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง

  18. 3. ประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเอง (CSA)

  19. การประเมินการควบคุมด้วยตนเองการประเมินการควบคุมด้วยตนเอง Control self Assessment (CSA) หลักการ: CSA เป็นกระบวนการสร้างความรับผิดชอบในการควบคุมภายในให้แก่ทุกคน ที่เป็นเจ้าของงานนั้น วิธีการ 1. นำกระบวนการปฏิบัติงานกับวัตถุประสงค์ของงานมาเชื่อมโยงกัน 2. ระบุการควบคุมภายในที่มีอยู่ของงานนั้น 3. ประเมินความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ ผลที่ได้/ประโยชน์ 1.ผู้ปฏิบัติเข้าใจกระบวนการทำงานและวัตถุประสงค์ของงานนั้น 2. เข้าใจความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ของงาน 3. สามารถกำหนดการควบคุมภายในที่จำเป็นเพื่อลดความเสี่ยงในระดับยอมรับได้ 4. สามารถกำหนดแผนปฏิบัติเพื่อปรับปรุงการควบคุมภายในให้เหมาะสม

  20. ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 1.ให้วิเคราะห์งาน/กิจกรรมที่มีความเสี่ยงสูง พร้อมระบุวัตถุประสงค์ของงาน / กิจกรรมนั้น

  21. ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่2งาน/กิจกรรมนั้นมีขั้นตอนหรือกระบวนการปฏิบัติอะไรบ้าง หรือทำอย่างไร ที่จะทำให้บรรลุตามวัตถุประสงค์

  22. ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 3 ให้วิเคราะห์ว่าขั้นตอนหรือ กระบวนการปฏิบัติจริง (จากข้อ 2) ในขณะประเมิน ปฏิบัติอย่างไร

  23. ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่4 จากกิจกรรมที่ปฏิบัติอยู่ผลการประเมิน เป็นอย่างไร (บรรลุวัตถุประสงค์ /ไม่บรรลุ วัตถุประสงค์) ถ้าไม่บรรลุวัตถุประสงค์มีความเสี่ยงอะไร

  24. ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 5 ให้พิจารณาว่า ถ้าพบยังมีความเสี่ยงอยู่ (ปัญหา) เกิดจากสาเหตุอะไร จะแก้ไขอย่างไร ใครเป็นคนแก้ไข

  25. การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง Control self Assessment (CSA)  กำหนดกิจกรรมการควบคุมใหม่หรือเพิ่มเติมเพื่อลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ (แก้ที่ต้นเหตุ/สาเหตุ ) งานที่มีความเสี่ยงสูง CSA ประเมินการควบคุม ด้วยตนเอง   ต้องการให้เกิดผลสำเร็จอะไร   แผนปรับปรุง การควบคุม วัตถุประสงค์ ของงาน  เข้าใจความเสี่ยง ที่อาจกระทบต่อ วัตถุประสงค์(หลัก)  ขั้นตอนงาน มีอะไรบ้าง ปัจจัยเสี่ยงที่ยังมีอยู่ กระบวนการ ปฏิบัติงาน    มีวัตถุประสงค์ (ย่อย)อะไรบ้าง กิจกรรมควบคุมที่มี  ถ้างานยังมีความเสี่ยง วิเคราะห์หาต้นเหตุ/สาเหตุ เกิดจากอะไร(ปัจจัยภายใน หรือภายนอก)  มี หรือไม่/ ถ้ามี อะไรบ้าง เช่น คู่มือการปฏิบัติงาน การรายงาน  ถ้ามีประสิทธิภาพงานบรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย (ไม่เสี่ยง) งานไม่บรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย(เสี่ยง) การควบคุมไม่มีประสิทธิภาพ ( ที่มา :ปรับจากแนวทางวางระบบควบคุมภายในฯ, สตง.)

  26. 4. นำความเสี่ยงที่ยังหลงเหลืออยู่จากการติดตาม ปย.2 + ความเสี่ยงจากการประเมิน 5 องค์ประกอบและการประเมิน CSAมาหามาตรการ/แนวทางในการควบคุม พร้อมทั้งกำหนด ผู้รับผิดชอบและระยะเวลาดำเนินการ แล้วสรุปลงใน แบบ ปย.2

  27. งาน (บริหารวิชาการ บริหารงบประมาณ บริหารบุคคล และบริหารทั่วไป) รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายในสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2556 แบบ ปย. 2 ชื่อผู้รายงาน...........................ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........

  28. สรุปขั้นตอนการจัดทำรายงานสรุปขั้นตอนการจัดทำรายงาน ก. ส่วนงานย่อย (งานบริหารวิชาการ บริหารงบประมาณ บริหารบุคคล บริหารทั่วไป ) ประเมิน 5 องค์ประกอบ แบบ ปย.2 (ปี 55 ) ประเมินด้วยตนเอง (CSA) แบบสอบถาม (ถ้ามี) แบบ ปย.1 แบบติดตาม ปย.2 แบบ ปย.2 ( ปี 56) แบบ ปอ.3 (โรงเรียน)

  29. สรุปแบบรายงานที่ งานบริหารวิชาการ บริหารงบประมาณ บริหารบุคคล บริหารทั่วไป ต้องดำเนินการ แบบที่จัดส่งให้ผู้รับผิดชอบ- แบบ ปย. 1 - แบบ ปย. 2 - แบบติดตาม ปย. 2 แบบที่เก็บไว้ที่ งานโรงเรียนทั้ง 4 งาน- แบบประเมิน 5 องค์ประกอบ

  30. ขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน ข. หน่วยรับตรวจ (โรงเรียน) ณ วันที่ 30 ก.ย. 56 1. แต่งตั้งคณะทำงาน/กรรมการ 2. นำแบบ ปอ.3 (ปี 55) มาติดตามผลการปฏิบัติงานแล้วสรุปลงในแบบติดตาม ปอ.3 (สพฐ. กำหนดแบบให้)

  31. โรงเรียน......................การติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2556 แบบติดตาม ปอ.3 ชื่อผู้รายงาน........................... ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........

  32. โรงเรียน.......................การติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในณ วันที่ 30 กันยายน 2556 แบบติดตาม ปอ.3

  33. ขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน 3. ประเมินองค์ประกอบของการควบคุม ภายใน (5 องค์ประกอบ) แล้วสรุปลงใน แบบ ปอ. 2

  34. โรงเรียน................................ รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายในณ วันที่ 30 กันยายน 2556 แบบ ปอ.2

  35. ขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน 4. นำความเสี่ยงที่ยังหลงเหลือจากแบบติดตาม ปอ. 3และจากการประเมิน 5 องค์ประกอบ และ แบบ ปย. 2 ของงานทั้ง 4 งานที่ส่งมา ให้คณะทำงาน/กรรมการพิจารณาคัดเลือกกิจกรรม เพื่อจัดทำแบบ ปอ.3

  36. โรงเรียน......................รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2556 แบบ ปอ.3 ชื่อผู้รายงาน.......................... ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........

  37. ขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน 5. นำความเสี่ยงที่มีอยู่ในแบบ ปอ. 3 มาสรุปเป็นความเรียงลงใน แบบ ปอ.1

  38. หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายในหนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน แบบ ปอ. 1 วรรคที่ 1(ชื่อหน่วยรับตรวจ) ได้ประเมินผลการควบคุมภายในสำหรับปีสิ้นสุดวันที่............เดือน.............พ.ศ..... ด้วยวิธีการที่(ชื่อหน่วยรับตรวจ)กำหนดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า วรรคที่ 2จากผลการประเมินดังกล่าวเห็นว่าการควบคุมภายในของ(ชื่อหน่วยรับตรวจ) สำหรับปีสิ้นสุด วันที่............เดือน................พ.ศ. .............. วรรคที่ 3อนึ่ง การควบคุมภายในยังคงมีจุดอ่อนที่มีนัยสำคัญดังนี้ 1………………………………………… 2………………………………………… ซึ่ง โรงเรียนจะดำเนินการปรับปรุงการควบคุมโดยกำหนดไว้ในแผนปฏิบัติงานประจำปีต่อไป ลายมือชื่อ.......................................................... (ผอโรงเรียน) วันที่ ............เดือน..............................พ.ศ...............

  39. สรุปขั้นตอนการจัดทำรายงาน ข.หน่วยรับตรวจ (โรงเรียน) ประเมิน 5 องค์ประกอบ แบบ ปย.2 (ส่วนงานย่อย) แบบปอ.3 ( ปี 55) แบบ ปอ.2 แบบติดตาม ปอ. 3 แบบปอ.3 ( ปี 56) แบบ ปอ.1

  40. สรุปแบบรายงานการควบคุมภายในสรุปแบบรายงานการควบคุมภายใน

  41. แนวทางการจัดส่งรายงานแนวทางการจัดส่งรายงาน สพฐ. คตป.ศธ. แบบ ปอ. 1 • - ส่งเฉพาะแบบ ปอ. 1 • ส่วนแบบ ปอ. 2 และปอ.3 • เก็บไว้ที่หน่วยงาน แบบ ปอ. 1 สพป./สพม. แบบ ปอ. 1 • ส่งเฉพาะแบบ ปอ. 1 • - ส่วนแบบ ปอ. 2 และปอ.3 • เก็บไว้ที่หน่วยงาน สตง.ภูมิภาค โรงเรียน แบบ ปอ. 1

  42. ความสำเร็จของการควบคุมภายใน เกิดจากความร่วมมือ ร่วมใจของทุกคนในองค์กร ” สวัสดีครับ

More Related